Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เติม , then ตม, เติม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เติม, 98 found, display 1-50
  1. โอทหติ : ก. ตั้งลง, วางลง, เติม, นำมา, เพิ่ม, ตั้งใจ
  2. ตม : (วิ.) มืด, ผู้มืด. ติมฺ เตมเน, อ. แปลง อิ เป็น อ. โง่เขลา. ตมฺ กํขายํ. ส. ตม.
  3. อถ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, ครั้นนั้น, ลำดับนั้น, ถ้าว่า, ผิว่า, หากว่า, อนึ่งโสด, ทีนั้น, ทีหลัง, เมื่อนั้น, ว่าดังนั้น, อย่างนั้น, หรือ, แล, ในกาลนั้น, ในภายหลัง, ในกาลภายหลัง, เออก้อ. อถ ที่เป็น ลักขณวันตะ แปลว่าครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น.เติม กิริยาสนฺเต (มีอยู่). รูปฯ ว่า ใช้ในอรรถแห่งคำถามบ้าง.
  4. ตม (โม) นทฺธ, ตมนิวุต : ค. อันความมืดหุ้มห่อไว้, ถูกความมืดปกคลุมไว้, อันตกอยู่ในความมืด
  5. ตโต : (อัพ. นิบาต) แล, เพราะ, เพราะเหตุนั้น, ด้วยเหตุนั้น, แต่นั้น, ในลำดับนั้น. ตโต อยู่ต้นข้อความแปลว่า ในลำดับนั้นอยู่ ในเลขใน แปลว่า ในภายหลัง ตโต อยู่ กับ ปฎฺฐาย เป็นต้น เป็นวิเสสสัพพนาม ( ต + โต ปัจ. ) ต้องเติม นามนาม เข้ามา.
  6. ปฏิจย, - จฺจย : ป. การสะสม, การพอกพูน, การเพิ่มเติม, การรวมขึ้นเป็นกอง
  7. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  8. สิกขาปท : (นปุ.) บทอันบุคคลพึงศึกษา, สิกขาบทคือ ข้อศีล ข้อวินัย ข้อหนึ่ง ๆ เป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ หรือมูลบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งเพิ่มเติมภายหลัง รวมเป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ สิกขาบทมีความหมายแคบ หมายเอาเฉพาะ สีล ส่วน สิกขา หมายเอา สีล สมาธิ และ ปัญญา.
  9. อคฺคิ อคฺคินิ : (ปุ.) ไฟ, เปลวไฟ, อคนิ, อัคนิ, อัคนี. อคฺค กุฏิลคติยํ, อิ. อคฺคิ เติมนิ เป็น อคฺคินิ คงจะเลียนสันสกฤต, กัจฯ๙๕ และรูปฯ ๑๔๕ ว่า อคฺคิ ลง สิ วิภัติแปลง อิ ที่ คิ เป็น อินิ ลบ. สิ. เป็น อกินีก็มี. ส. อคฺนิ, อทฺมนิ.
  10. อนุปญฺญตฺติ : (อิต.) การตั้งขึ้นภายหลัง, การบัญญัติภายหลัง, อนุบัญญัติชื่อของพระวินัยหมายถึงข้อห้ามซึ่งพระองค์ทรงห้ามเพิ่มเติมจากข้อห้ามเดิม.ข้อที่ทรงเพิ่มเติมภายหลัง.
  11. อนุปทาน : (นปุ.) การเพิ่มเติม, การเพิ่มให้.อา+อุป+ทานนฺอาคม.
  12. ตม (โม) นุท : ค. ผู้บรรเทาความมืด, ผู้ขจัดความมืด
  13. ตมขนฺธ : ป. ความมืดทึบ, ความมืดตื้อ
  14. ตมปรายน : ค. มีความมืดเป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มีความมืดต่อไปคือไปสู่ทุคติ
  15. ตมวิโนทน : (วิ.) ผู้บรรเทาเสียซึ่งความมืดโดย ปกติ, ผู้บรรเทาเสียซึ่งความมืดเป็นปกติ, ผู้มีปกติบรรเทาเสียซึ่งมืด.
  16. โคตม : (ปุ.) พระอาทิตย์ (สว่างที่สุด). โค (แสงสว่าง รัศมี) ตม ปัจ.
  17. พหุตฺตม : (วิ.) มากที่สุด. พหุ+ตม ปัจ. ซ้อน ตฺ.
  18. อุตฺตม : (วิ.) ดีที่สุด, เด่นที่สุด, ยิ่ง, เยี่ยม, ยอดเยี่ยม, เลิศ, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด, มากมาย, บริบูรณ์, อุดม. วิ. อพฺภุโต อพฺภูโต วา อตฺยตฺถํ อุตฺตโม. อุคฺคตตมตฺตา วา อุตฺตโม. อุศัพท์ ตม ปัจ. ซ้อน ตฺ บางคัมภีร์เป็น อุพฺภโต อพฺยตฺถํ อุตฺตโม. อุพฺภโต อตฺยตฺโถ อุตฺตโม. มติ ผู้เขียน. ส อุตฺตม.
  19. อญฺญตม : (ไตรลิงค์) คนใดคนหนึ่ง, อญฺญศัพท์ลงตมสกัด.
  20. อุตฺตมโปริส : ป. อุตตมบุรุษ, บุรุษผู้ยอดเยี่ยม
  21. กตมกุล : (นปุ.) ตระกูลไหน.
  22. กตมนิกาย กตรนิกาย : (ปุ.) พวกไหน, นิกายไหน.
  23. ฆนตม : ๑. ป. ความมืดทึบ; ๒. ค. มืดทึบ, มืดมาก
  24. จตุรงฺคตม : (ปุ. นปุ.) ความมืดมีองค์สี่ คือ ค่ำ ป่าชัฏ เมฆทึบ และเที่ยงคืน.
  25. ญาตมนุสฺส : (ปุ.) มนุษย์ผู้มีชื่อเสียง.
  26. ตโมตมปรายน : (วิ.) ผู้มีมืดมาแล้ว มีมืดเป็น ที่ไปในเบื้องหน้า, ผู้มืดมาแล้วมืดไป.
  27. ติม : (ปุ.) ติมะ ชื่อปลาชนิดหนึ่ง, ปลา. ส.ติม ปลา.
  28. ติมิ : (ปุ.) ติมิ ชื่อปลาใหญ่, ปลาติมิ. วิ. ติมฺยตี ติ ติมิ. ติมุ อทฺทภาเว กํขายํ วา, อิ. ส. ติมิ ว่า ปลาวาฬ ปลาใหญ่ในนิยาย.
  29. ตุม : ป. ตน, ตนเอง
  30. ทนฺตมส : (นปุ.) ริมฝีปาก.
  31. ทิปทุตฺตม : (วิ.) ผู้สูงกว่าสัตว์สองเท้า, ผู้สูงในสัตว์สองเท้า, ผู้สูงกว่าสัตว์, ผู้สูงกว่าสรรพสัตว์.
  32. ทุมุตฺตม : ป. ต้นไม้ที่ยอดเยี่ยม ได้แก่ต้นโพธิ์
  33. นรุตฺตม : ป. ผู้ประเสริฐ, ผู้สูงสุด, ผู้ประเสริฐในหมู่คน
  34. นรุตฺตม นโรตฺตม : (ปุ.) คนผู้สูงสุดกว่านระ, คนผู้สูงสุดในนระ, พระเจ้าแผ่นดิน.
  35. นโรตฺตม : (วิ.) ผู้สูงสุดกว่านระ, ผู้สูงสุดใน นระ.
  36. ปุตฺตมตา : อิต. หญิงผู้มีลูกตายแล้ว
  37. ปุตฺตมส : นป. เนื้อของบุตร
  38. ปุริสุตฺตม : ค., ป. สูงสุดกว่าคน; คนดีที่สุด
  39. โมหตม : ป. ความมืดคือความหลง
  40. สตฺตม : ค. ที่เจ็ด
  41. สาธกตม : (ปุ.) กัตตุการก.
  42. อญฺญตม อญฺญตร : (วิ.) อันหนึ่ง, ชนิดหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง, อื่น, ต่างหาก, แปลก ออกไป, ต่างไป, นอกจากนี้, คนหนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, อญฺโญ เอว อญฺญตโม อญฺญตโร วา. อญฺญสทฺทา, สกตฺเถ ตโม ตโร วา.
  43. อติอุตฺตม : ค. สูงยิ่ง
  44. อนฺธตมอนฺธนฺตม : (ปุ. นปุ.) ความมืดคือบอด, ความมืดบอด, ความมืดทึบ, ความมืดตื้อ, ความมืดมน (มืดแปดด้าน) มืดมิด.วิ. อนฺธญฺจตํตมญฺจาติอนฺธตมํอนฺธนฺตมํ วา
  45. อนฺธตม อนฺธนฺตม : (ปุ. นปุ.) ความมืดคือบอด, ความมืดบอด, ความมืดทึบ, ความมืดตื้อ, ความมืดมน (มืดแปดด้าน) มืดมิด. วิ. อนฺธญฺจ ตํ ตมญฺจาติ อนฺธตมํ อนฺธนฺตมํ วา
  46. อนฺธตม, อนฺธนฺตม : ป., นป. ความมืดตื้อ
  47. อุตฺตมครุห อุตฺตมงฺครุห : (ปุ.) ผม (ขนที่ งอกบนศรีษะ). อุตฺตมํคปุพฺโพ, รุหฺ ปาตุภาเว, อ.
  48. อุตฺตมค อุตฺตมงฺค : (นปุ.) อวัยวะสูงสุด, หัว, ศรีษะ. วิ. องฺเคสุ อุตฺตมํคตฺตา อุตฺตมํคํ. อุตฺตมํ จ ตํ อํคํ จาติ วา อุตฺตมํคํ วา. ส. อุตฺตมางฺค.
  49. อุตฺตมตา : อิต. ความเป็นของสูงสุด, ความเลิศ
  50. โอตมสิก : ค. ผู้อาศัยอยู่ในที่มืด
  51. [1-50] | 51-98

(0.0196 sec)