Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เตือน , then ตอน, เตือน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เตือน, 54 found, display 1-50
  1. โจเทติ : ก. โจท, ท้วง, กล่าวหา, ติเตียน, เตือน
  2. อปโลกี : ค. มองดู, เพ่ง, ระวัง, เตือน
  3. โจทน : (นปุ.) คำตักเตือน, คำทักท้วง, คำโจทน์, การโจทน์, การฟ้อง. ยุปัจ.
  4. โจทนา : (อิต.) คำตักเตือน, คำทักท้วง, คำโจทน์, การโจทน์, การฟ้อง. ยุปัจ.
  5. ทยา : (อิต.) ความเอ็นดู, ความอนุเคราะห์, ความรัก, ความรักใคร่, ความกรุณา. วิ. ทยติ ปรทุกขํ อตฺตสุขญฺจ หึสตีติ ทยา. ทยฺ ทานคติหึสาทานรกฺขาสุ, อ. อธิบายความหมายของศัพท์ ทยา ตามอรรถของธาตุ ให้คือให้อภัยแก่สัตว์ ไป คือ จิตไปเสมอในคนดีคนชั่วและสัตว์เบียดเบียนคือ รบเร้าจิตเตือนให้ช่วยเหลือผู้อื่น. ส. ทยา.
  6. ปโพธน : นป. การปลุก, การกระตุ้นเตือน, การตรัสรู้
  7. ปโพเธติ : ก. ปลุก, ให้ตื่น, กระตุ้นเตือน, ให้เข้าใจ, ให้ตรัสรู้
  8. ปวารณา : อิต. การเปิดโอกาสให้ตักเตือนกันในคราวออกพรรษาของสงฆ์; การอนุญาตให้ขอสิ่งของได้, การเปิดโอกาส
  9. อนุสตฺถิ : อิต. อนุสาสน์, การตักเตือน, การพร่ำสอน
  10. อนุสิฏฺฐ : กิต. แนะนำแล้ว, ตักเตือนแล้ว
  11. อปวทติ : ก. ว่ากล่าว, ตักเตือน, ติเตียน, นินทา
  12. อิงฺฆ : อ. เตือน; เชิญ ; คำสั่ง, เชิญเถิด, เอาเถิด, ดังเราตักเตือน
  13. อึฆ อิงฺฆ : (อัพ. นิบาต) เชิญ, เชิญเถิด, เอา เถิด, ดังเราเตือน, ดังเราตักเตือน.
  14. โอวชฺชมาน : กิต. อันเขาตักเตือนอยู่
  15. โอวทน โอโวทน : (นปุ.) การกล่าวสอน, การสั่งสอน, การสอน,การแนะนำสั่งสอน, คำกล่าวสอน, คำสั่งสอน, คำแนะนำ, คำ แนะนำสั่งสอน, คำตักเตือน. อวปุพฺโพ, วทฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, ยุ. คำหลัง แปลง อ ที่ ว เป็น โอ.
  16. กณฺฑ : (ปุ.) ลูกปืน, ลูกศร, ลูกธนู, ก้าน, ราก, ลำต้น, ท่อน, ท่อนไม้, ไม้เท้า, วรรค, ตอน, หมวด, อวกาศ, โอกาส, รำข้าว. กมฺ ปทวิกฺเขเป, กณฺ วา สทฺเท, โฑ. กณฺฑฺ วา เภทเน, อ. รูปฯ ๖๕๗ กฑิ เฉทเน, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป (ลบ ก ตัว ปัจ.)
  17. ปพฺพ : (นปุ.) ข้อ, หัวข้อ, ข้อไม้, ปล้อง, ภาค, ส่วน, หมู่, ตอน, เล่ม, ปม, ดิถีเภท คือ วัน ไม่ดีทางโหราศาสตร์ แต่ทางพุทธศาสนา สอนว่า ดีหรือไม่ดีไม่ขึ้นอยู่กับวัน ขึ้นอยู่ กับการกระทำ. ปพฺพ ปูรเณ, อ.
  18. ปริจฺเฉท : ป. การกำหนด, ตอน
  19. พล : (นปุ.) ใบ, ใบไม้, ส่วน, ส่วนแบ่ง,ฝัก, ฝักดาบ, ท่อน, ตอน, กลีบ, กลีบดอกไม้. วิ. ทลตีติ ทลํ วิกสเน, อ. เป็น ทลฺล บ้าง ส. ทล.
  20. กณฺณธาร : (ปุ.) คนที่อยู่มุมเรือ (ตอนหนึ่งของเรือ), คนถือท้ายเรือ, นายท้าย, นายเรือ. กณฺณปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, โณ.
  21. จีวรวคฺค : (ปุ.) ตอนกล่าวถึงผ้า, ตอนกล่าวถึง ผ้าต่างๆ, ตอนว่าด้วยผ้าต่างชนิด.
  22. โจฬรฏฺฐ : นป. แคว้นโจฬะ, ชื่อแคว้นหนึ่งในอินเดียตอนใต้
  23. ติณว : (ปุ.) มโหระทึก ชื่อกลองโลหะชนิดหนึ่ง ของชนชาติที่อยู่ตอนใต้ของประเทศจีน. ตนุ วิตฺถาเร, อโว, ณตฺตํ, อสฺส อิตฺตํ.
  24. ตูวร : ป. คนตอน, ขันที
  25. ทมฺม : (ปุ.) โคหนุ่ม (ผู้ควรแก่การฝึก), โคตอน?
  26. ทสชาติ : (อิต.) ชาติสิบ, ทศชาติ ชื่อคัมภีร์ ชาดก กล่าวด้วยเรื่องพระพุทธเจ้าครั้งยัง เป็นพระโพธิสัตว์ ตอนก่อนตรัสรู้ มี ๑๐ ชาติ
  27. ทุพฺภิกฺขนฺตรกปฺป : (ปุ.) กัปของระหว่างมี ภิษาอัน...ได้โดยยาก. ทุพภิกขันตรกัป คือระยะเวลาที่กำหนดไว้ว่าเป็นตอนที่ ขาดแคลนอาหาร.
  28. โทส : อ. ยามค่ำ, ตอนกลางคืน, ในเวลากลางคืน
  29. โทโส : (อัพ. นิบาต) ราตรี (กลางคืน), ค่ำ (เวลามืดตอนต้นของกลางคืน), หัวค่ำ.
  30. นิลฺลจฺเฉติ : ก. ตอน, ทำให้หมดเชื้อ
  31. นิลฺลญฺฉก : ค. ผู้ตอน
  32. นิลิจฺฉิต : ค. อันเขาตอนแล้ว, ซึ่งหมดเชื้อ
  33. ปพฺพนิย : ค. ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งหรือตอนหนึ่ง, ซึ่งประกอบด้วย, ซึ่งเนื่องใน, ซึ่งจัดอยู่ใน
  34. ปโยค : (ปุ.) การประกอบ, ฯลฯ, การประกอบเข้า, ความพยายามเป็นเครื่องประกอบ, ความพยายาม, ฯลฯ, ประโยคเป็นชื่อของคำพูดที่ได้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่งๆ อย่าง ๑ เป็นชื่อของความรู้เช่นเปรียญธรรม ๓ ประโยค อย่าง ๑ เป็นชื่อของการทำทางกายทางวาจา เรียกว่า กายประโยค วจีประโยค อย่าง ๑ วิ. ปยุชฺชนํ ปโยโค. ป+ยุชฺ+ณ ปัจ. แปลง ช เป็น ค. ส. ปฺรโยค.
  35. ปุริมวโยขนฺธ : (ปุ.) ตอนของวัยต้น, ตอนวัยต้น.
  36. มชฺฌิมโพธิ : (อิต.) เวลาเป็นที่ตรัสรู้มีในท่ามกลาง, มัชฌิมโพธิ คือช่วงระยะเวลาตอนกลาง.
  37. มชฺฌิมวโยขนฺธ : (ปุ.) ตอนวัยกลาง.
  38. มลย : (ปุ.) มลยะ ชื่อภูเขาอยู่ทางอินเดียตอนใต้ อุดมด้วยไม้จันทน์, ภูเขาไม้จันทน์, อาราม, อารามดอกไม้ เป็นต้น, สวนดอกไม้, ไม้จันทน์. มลฺ ธารเณ, โย.
  39. มหพฺภาค : (ปุ.) ภาคใหญ่, มหัพภาค ชื่อ เครื่องหมายวรรคตอน รูปดังนี้ “.”
  40. รชนี รชฺชนี : (อิต.) ค่ำ (เวลามืดตอนต้นของกลางคืน), เวลาค่ำ, เวลามืด, กลางคืน, ค่ำคืน, รัชนี. วิ. รญฺชนฺติ ราคิโน อตฺราติ รชนี. ยุ, อิตฺถยํ อี. ศัพท์หลังแปลง ช เป็น ชฺช.
  41. วคฺค : ป. วรรค, พรรค, หมู่, คณะ; วรรคตอนของหนังสือ
  42. สญฺฌาฆน : นป. เมฆในตอนเย็น
  43. โสตฺถิย : (ปุ.) โสตถิยะ ชื่อพราหมณ์ผู้ถวายหญ้าแด่พระมหาบุรุษตอนเย็นวันตรัสรู้. ใช้เป็นชื่อของพราหมณ์ทั่วไปด้วย. พม่า และ ฎีกาอภิฯ เป็นโสตฺติย วิ. สุตฺตํ พฺรหฺมสุตฺตํ อธิเตติ โสตฺติโย.
  44. หิมวนิต : (ปุ.) เขาหิมพานต์. ป่าหิมพานต์ ชื่อภูเขาปกคลุมด้วยหิมะ ตั้งอยู่ตอนเหนือของประเทศอินเดีย. หิมพาน หิมวันต์ หิมวัต ก็เรียก.
  45. อกองฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าวเป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร.อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
  46. อก องฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าว เป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆ ของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร. อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
  47. อณฺฑหารอณฺฑหารก : (ปุ.) คนผู้นำไปซึ่งอัณฑะ, คนผู้ทำหน้าที่ตอน, หมอตอน.
  48. อณฺฑหาร อณฺฑหารก : (ปุ.) คนผู้นำไปซึ่ง อัณฑะ, คนผู้ทำหน้าที่ตอน, หมอตอน.
  49. อรตี : (อิต.) อรดีชื่อของธิดามาร ๑ ใน ๓ของพญามารซึ่งพญามารส่งมาผจญพระมหา-บุรุษตอนก่อนจะตรัสรู้.วิ.ปเรสักุสลธมฺ-เมอรตึกโรตีติอรตี.
  50. อริยก : (ปุ.) อริยกะชนชาติอริยกะชื่อชนผู้เป็นต้นตระกูลของพระพุทธเจ้าซึ่งอพยพมาจากตอนเหนือข้ามภูเขามาอยู่ตอนเหนือของชม-พูทวีปคือประเทศอินเดีย (ปัจจุบันแยกออกเป็นหลายประเทศ)
  51. [1-50] | 51-54

(0.0224 sec)