Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เถิด , then ถด, เถิด .

Eng-Thai Lexitron Dict : เถิด, 5 found, display 1-5
  1. hammy : (ADJ) ; เกี่ยวกับการที่แสดงเลยเถิด ; Related:ซึ่งแสดงเลยเถิดไป, เกินไป, เกินความจริง ; Syn:impassioned, emotive ; Ant:unsentimental
  2. camp up : (PHRV) ; กระทำเกินเลย (คำไม่เป็นทางการ) ; Related:ทำเลยเถิด ; Syn:ham up
  3. overreach oneself : (PHRV) ; ทำเกินเลย ; Related:ทำเลยเถิด
  4. undue : (ADJ) ; ไม่เหมาะสม ; Related:เกินไป, เลยเถิด, เกินควร ; Syn:excessive, immoderate, overdone
  5. budge : (VT) ; เคลื่อน ; Related:ขยับเขยื้อน, เขยิบ, ถด, ขยับตัว ; Syn:move

Thai-Eng Lexitron Dict : เถิด, more than 7 found, display 1-7
  1. เถิด : (END) ; let's ; Related:let us ; Syn:เถอะ ; Def:คำประกอบท้ายกริยาแสดงความหมายเป็นเชิงตกลง วิงวอน หรือชักจูง ; Samp:ใครเป็นผู้ผิด ผู้ถูกโทษจะตกกับผู้ใดแล้วแต่เจ้าคุณจะตัดสินเถิด
  2. เทอญ : (ADV) ; a particle used in a more poetic context at the end of clause ; Related:used like or added for emphasis to any word ; Syn:เถิด ; Def:(ใช้เป็นคำลงท้ายข้อความที่แสดงความมุ่งหมายให้เป็นดังนั้นดังนี้, มักใช้ในการให้ศีลให้พร) ; Samp:ขอให้คุณมีความสุขตลอดปีใหม่เทอญ
  3. เอาเถิด : (N) ; a game which one tries to catch other ; Syn:เอาเถิดเจ้าล่อ ; Def:ชื่อการเล่นไล่จับกันอย่างหนึ่ง
  4. เอาเถิดเจ้าล่อ : (N) ; a game which one tries to catch other ; Syn:เอาเถิด ; Def:ชื่อการเล่นไล่จับกันอย่างหนึ่ง
  5. ช่างเถิด : (ADV) ; never mind ; Related:don't worry ; Syn:ไม่เป็นไร, ช่างเถอะ ; Samp:คนเราเกิดหนเดียวตายหนเดียวนั้นก็ช่างเถิด มันเลือกกันไม่ได้
  6. เถอะ : (END) ; let's ; Related:let us ; Syn:เถิด, เหอะ ; Def:คำประกอบท้ายกริยาแสดงความหมายเป็นเชิงตกลง วิงวอน หรือชักจูง ; Samp:เราแยกกันตรงนี้เถอะ ขืนไปด้วยกันคงไม่รอด
  7. เลยเถิด : (ADV) ; inordinately ; Related:excessively, exceedingly, too much, aggressively ; Syn:เกินเลย ; Def:อย่างเกินความพอดีไปมาก ; Samp:เราอย่าเพิ่งทำเลยเถิดจนเกินไป รอดูเหตุการณ์ก่อนดีกว่า
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เถิด, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เถิด, more than 5 found, display 1-5
  1. เถิด : ว. คําประกอบท้ายกริยาแสดงความหมายเป็นเชิงตกลง วิงวอน หรือ ชักจูง เช่น เอาเถิด มาเถิด กินเถิด, เถอะ ก็ว่า.
  2. เถิดน่า : ว. คําประกอบท้ายกริยาแสดงความหมายเป็นเชิงชักชวนหรือ วิงวอนเป็นต้น เช่น ไปเถิดน่า, เถอะน่า ก็ว่า.
  3. เล่นเอาเถิดเจ้าล่อ : (สำ) ก. อาการที่หลบไปมาเพื่อไม่ให้พบ เช่น ลูกหนี้เล่นเอาเถิดเจ้าล่อกับเจ้าหนี้.
  4. เลยเถิด : ว. เกินความพอดีไป เช่น ล้อเล่นกันจนเลยเถิด กลายเป็น ลามปาม.
  5. เอาเถิด ๒, เอาเถิดเจ้าล่อ ๑ : น. ชื่อการเล่นของเด็กชนิดหนึ่งไม่จำกัด จำนวนผู้เล่น โดยจะต้องมีคนหนึ่งอยู่โยง ณ หลักที่กำหนดไว้ มี หน้าที่ไล่จับผู้อื่นให้ได้ ถ้าจับใครไม่ได้เลยก็ต้องอยู่โยงต่อ ถ้าจับผู้ใด ได้ผู้นั้นต้องอยู่โยงแทน มีบทร้องประกอบว่า 'เอาเถิดเจ้าล่อ ข้าวเหนียวสองห่อไม่พอกันกิน'.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : เถิด, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : เถิด, 7 found, display 1-7
  1. แผ่เมตตา : ตั้งจิตปรารถนาดีขอให้ผู้อื่นมีความสุข; คำแผ่เมตตาที่ใช้เป็นหลักว่า สพฺเพ สตฺตา อเวรา อพฺยาปชฺฌา อนีฆา สุขี อตฺตานํ ปริหรนฺตุ แปลว่า ขอสัตว์ทั้งหลาย, (ที่เป็นเพื่อนทุกข์ เกิด แก่ เจ็บ ตาย ด้วยกัน) หมดทั้งสิ้น, (จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด) อย่าได้มีเวรแก่กันและกันเลย, (จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด) อย่าได้เบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย, (จงเป็นสุขเป็นสุขเถิด) อย่าได้มีทุกข์กายทุกข์ใจเลย, จงมีความสุขกายสุขใจ, รักษาตน (ให้พ้นจากทุกข์ภัยทั้งสิ้น) เถิด.ข้อความในวงเล็บ เป็นส่วนที่เพิ่มเข้ามาในคำแปลเป็นภาษาไทย
  2. กรวดน้ำ : ตั้งใจอุทิศบุญกุศลให้แก่ผู้ล่วงลับ พร้อมไปกับหลั่งรินน้ำเป็นเครื่องหมาย และเป็นเครื่องรวมกระแสจิตที่ตั้งใจอุทิศนั้นให้แน่วแน่; เริ่มรินน้ำเมื่อพระองค์หัวหน้าเริ่มสวดยถา รินน้ำหมดพร้อมกับพระหัวหน้าสวดยถาจบ และพระทั้งหมดเริ่มสวดพร้อมกัน จากนั้นวางที่กรวดน้ำลงแล้วประนมมือรับพรต่อไป; คำกรวดน้ำอย่างสั้นว่า อิทัง โน ญาตีนัง โหตุ ขอส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่....(ออกชื่อผู้ล่วงลับ) และญาติทั้งหลายของข้าพเจ้าเถิด จะต่ออีกก็ได้ว่า สุขิตา โหนตุ ญาตโย ขอญาติทั้งหลายจงเป็นสุขเถิด - to pour the water of dedication (to transfer merit to other beings)
  3. ปัจฉิมโอวาท : คำสอนครั้งสุดท้าย หมายถึง ปัจฉิมวาจา คือ พระดำรัสสุดท้ายของพระพุทธเจ้าก่อนจะปรินิพพานว่า “วยธมฺมา สงฺขารา อปฺปมาเทน สมฺปาเทถ” แปลว่า “สังขารทั้งหลาย มีความเสื่อมสลายไปเป็นธรรมดา ท่านทั้งหลายจง (ยังประโยชน์ตนและประโยชน์ผู้อื่น) ให้ถึงพร้อม ด้วยความไม่ประมาทเถิด
  4. ปิณโฑล ภารทวาชะ : พระมหาสาวกองค์หนึ่ง เป็นบุตรพราหมณ์มหาศาลภารทวาชโคตร ในพระนครราชคฤห์ เรียนจบไตรเพท ออกบวชในพระพุทธศาสนา ได้สำเร็จพระอรหัต เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยสติ สมาธิ ปัญญา มักเปล่งวาจาว่า “ผู้ใดมีความเคลือบแคลงสงสัยในมรรคก็ดี ผลก็ดี ขอผู้นั้นจงมาถามข้าพเจ้าเถิด” พระศาสดาทรงยกย่องว่า เป็นเอตทัคคะในทางบันลือสีหนาท
  5. สุภัททะ : ปัจฉิมสิกขิสาวก (สาวกผู้ทันเห็นองค์สุดท้าย) ของพระพุทธเจ้า เรียกสั้นๆ ว่า ปัจฉิมสาวก เดิมเป็นพราหมณ์ตระกูลใหญ่ ต่อมาออกบวชเป็นปริพาชก อยู่ในเมืองกุสินารา ในวันที่พระพุทธเจ้าจะเสด็จดับขันธปรินิพพาน สุภัททปริพาชกได้ยินข่าวแล้วคิดว่าตนมีข้อสงสัยอยู่อย่างหนึ่ง อยากจะขอให้พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมเพื่อแก้ข้อสงสัยนั้นเสียก่อนที่จะปรินิพพาน จึงเดินทางไปยังสาลวัน ตรงไปหาพระอานนท์ แจ้งความประสงค์ขอเข้าเฝ้าพระบรมศาสดา พระอานนท์ได้ห้ามไว้ เพราะเกรงว่าพระองค์เหน็ดเหนื่อยอยู่แล้ว จะเป็นการรบกวนให้ทรงลำบาก สุภัททปริพาชกก็คะยั้นคะยอจะขอเข้าเฝ้าให้ได้ พระอานนท์ก็ยืนกรานห้ามอยู่ถึง ๓ วาระ จนพระผู้มีพระภาคทรงได้ยินเสียงโต้ตอบกันนั้น จึงตรัสสั่งพระอานนท์ว่าสุภัททะมุ่งหาความรู้ มิใช่ประสงค์จะเบียดเบียนพระองค์ ขอให้ปล่อยให้เขาเข้าเฝ้าเถิด สุภัททปริพาชกเข้าเฝ้าแล้ว ทูลถามว่า สมณพราหมณ์เจ้าลัทธิที่มีชื่อเสียงทั้งหลาย คือ เหล่าครูทั้ง ๖ นั้น ล้วนได้ตรัสรู้จริงทั้งหมดตามที่ตนปฏิญญา หรือได้ตรัสรู้เพียงบางท่านหรือไม่มีใครตรัสรู้จริงเลย พระพุทธเจ้าทรงห้ามเสียและตรัสว่าจะทรงแสดงธรรม คือ หลักการหรือหลักความจริงให้ฟัง แล้วตรัสว่า อริยมรรคมีองค์ ๘ หาไม่ได้ในธรรมวินัยใด สมณะ (คืออริยบุคคลทั้ง ๔) ก็หาไม่ได้ในธรรมวินัยนั้น อริยมรรคมีองค์ ๘ หาได้ในธรรมวินัยใด สมณะก็หาได้ในธรรมวินัยนั้น อริยมรรคมีองค์ ๘ หาได้ในธรรมวินัยนี้ สมณะทั้ง ๔ จึงมีในธรรมวินัยนี้ ลัทธิอื่นๆ ว่างจากสมณะ และตรัสสรุปว่า ถ้าภิกษุทั้งหลายเป็นอยู่โดยชอบ โลกก็จะไม่ว่างจากพระอรหันต์ทั้งหลาย เมื่อจบพระธรรมเทศนา สุภัททปริพาชกเลื่อมใสทูลขอบรรพชาอุปสมบท พระพุทธเจ้าตรัสสั่งพระอานนท์ให้บวชสุภัททะในสำนักของพระองค์ โดยประทานพุทธานุญาตพิเศษให้ยกเว้นไม่ต้องอยู่ติตถิยปริวาส ท่านสุภัททะบวชแล้วไม่นาน (อรรถกถาว่าในวันนั้นเอง) ก็ได้บรรลุอรหัตตผล นับเป็นพุทธปัจฉิมสักขิสาวก
  6. อุปสัมปทา : การบวช, การบวชเป็นภิกษุหรือภิกษุณี; วิธีอุปสมบทมีทั้งหมด ๘ อย่าง แต่เฉพาะที่ใช้เป็นหลักมี ๓ อย่างคือ ๑) เอหิภิกขุอุปสัมปทา การอุปสมบทด้วยพระวาจาว่า “จงเป็นภิกษุมาเถิด” เป็นวิธีที่พระพุทธเจ้าทรงบวชให้เอง ๒) ติสรณคมนูปสัมปทา หรือสรณคมนูปสัมปทา การอุปสมบทด้วยถึงไตรสรณะ เป็นวิธีที่ทรงอนุญาตให้พระสาวกทำในยุคต้นพุทธกาล เมื่อคณะสงฆ์ยังไม่ใหญ่นัก เมื่อทรงอนุญาตวิธีที่ ๓ แล้ว วิธีที่ ๒ นี้ก็เปลี่ยนใช้สำหรับบรรพชาสามเณร ๓) ญัตติจตุตถกัมมอุปสัมปทา การอุปสมบทด้วยญัตติจตุตถกรรม เป็นวิธีที่ทรงอนุญาตให้สงฆ์ทำ ในเมื่อคณะสงฆ์เป็นหมู่ใหญ่ขึ้นแล้วส และเป็นวิธีใช้สืบมาจนทุกวันนี้; วิธีอุปสมบทอีก ๕ อย่าง ที่เหลือเป็นวิธีที่ทรงประทานเป็นการพิเศษ จำเพาะบุคคลบ้าง ขาดตอนหมดไปแล้วบ้าง ได้แก่ (จัดเรียงลำดับใหม่ เอาข้อ ๓) เป็นข้า ๘) ท้ายสุด) ๓) โอวาทปฏิคคหณูปสัมปทา การอุปสมบทด้วยการรับโอวาท เป็นวิธีที่ทรงอนุญาตแก่พระมหากัสสปะ ๔) ปัญหาพยากรณูปสัมปทา การอุปสมบทด้วยการตอบปัญหาของพระพุทธองค์ เป็นวิธีที่ทรงอนุญาตแก่โสปากสามเณร ๕) ครุธรรมปฏิคคหณูปสัมปทา (หรือ อัฏฐครุธรรมปฏิคคหณูปสัมปทา) การอุปสมบทด้วยการรับครุธรรม ๘ ประการ เป็นวิธีที่ทรงอนุญาตแก่พระนางมหาปชาบดีโคตมี ๖) ทูเตนะ อุปสัมปทา การอุปสมบทด้วยทูต เป็นวิธีที่ทรงอนุญาตแก่นางคณิกา (หญิงโสเภณี) ชื่ออัฑฒกาสี ๗) อัฏฐวาจิกาอุปสัมปทา การอุปสมบทมีวาจา ๘ คือ ทำด้วยญัตติจตุตถกรรม ๒) ครั้งจากสงฆ์ทั้ง ๒ ฝ่ายคือจากภิกษุณีสงฆ์ครั้งหนึ่ง จากภิกษุสงฆ์ครั้งหนึ่ง ได้แก่การอุปสมบทของภิกษุณี ๘) ญัตติจตุตถกรรมอุปสัมปทา (ข้อ ๓) เดิม)
  7. เอหิภิกขุอุปสัมปทา : วธีอุปสมบทที่พระพุทธ่เจ้าประทานด้วยพระองค์เอง ด้วยการเปล่งพระวาจาว่า “ท่านจงเป็นภิกษุมาเถิด ธรรมอันเราดีแล้ว ท่านจงประพฤติพรหมจรรย์เพื่อทำที่สุดทุกข์โดยชอบเถิด” วิธีนี้ ทรงประทานแก่พระอัญญาโกณฑัญญะ เป็นบุคคลแรก ดู อุปสัมปทา

ETipitaka Pali-Thai Dict : เถิด, 8 found, display 1-8
  1. ชลาพุช : (วิ.) เถิดด้วยน้ำระคนด้วยน้ำ, ชล+อมฺ พุ+ช ลบ อมฺทีฆะ อ ที่ ล เป็น อา.
  2. หนฺท : (อัพ. นิบาต) ก็, เชิญเถิด, เอาเถิด, เอาเถอะ, ช่างเถอะ, ช่างเถิด, วานทีเถิด, ช่วยทีเถิด, ผิดังนั้น, ทำกระไร.
  3. อล : (อัพ. นิบาต) ไม่, อย่า, อย่าเลย, ไม่ควร, บมิควร, ช่างเถอะ, แท้จริง, พอ, พอละ, ประดับ, อาจ, สามารถ, ควร, สมควร.อลํเมพุทฺโธ.พระพุทธเจ้าควรแก่เรา.อลํที่ใช้เป็นประธานแปลว่าอ.อย่าเลยอ.พอละอ.ช่างเถิดอ.ไม่ควรสัมพันธ์ว่าปฏิเสธลิง-คัตถะ.อลํเตอิธวาเสน.อ.อย่าเลยด้วยการอยู่ในที่นี้แก่ท่าน.
  4. อิงฺฆ : อ. เตือน; เชิญ ; คำสั่ง, เชิญเถิด, เอาเถิด, ดังเราตักเตือน
  5. อึฆ อิงฺฆ : (อัพ. นิบาต) เชิญ, เชิญเถิด, เอา เถิด, ดังเราเตือน, ดังเราตักเตือน.
  6. เอหิภิกฺขุ : (ปุ.) เอหิภิกขุ คำเรียกภิกษุผู้ได้รับ อุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยพระดำรัส ว่า จงเป็นภิกษุมาเถิด ถ้าผู้อุปสมบทยังไม่ บรรลุพระอรหัต จะตรัสเพิ่มอีกว่า จงทำที่ สุดทุกข์โดยชอบเถิด.
  7. เอหิภิกฺขุปพฺพชา : (อิต.) การบวชด้วยพระ ดำรัสว่า จงเป็นภิกษุมาเถิด.
  8. เอหิภิกฺขุอุปสมฺปทา : (อิต.) การอุปสมบท ด้วยพระดำรัสว่าจงเป็นภิกษุมาเถิด, เอหิ ภิกขุ อุปสัมปทา คำเรียกอุปสมบท อย่าง ที่ ๑ ใน ๓ อย่าง เป็นวิธีที่พระพุทธเจ้า ทรงเอง.

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เถิด, not found

(0.1362 sec)