Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เทศนา , then เทศนา, เทสนา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เทศนา, 14 found, display 1-14
  1. เทสนา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องแสดง, การแสดง, การบรรยาย, การชี้แจง, การแถลง, การสอน, เทสนา, เทศนา (การแสดงธรรม คำสั่งสอนในทางศาสนา). วิ. เทสียตีติ เท สนา. เทสนํ วา เทสนา, ทิสฺ ทิสิ วา อุจุจารเณ, ยุ, อิศฺถิยํ อา.
  2. เทสนาปริโยสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงรอบแห่งเทศนา, กาลเป็นที่จบลงแห่งเทศนา (เทศน์จบ).
  3. เทสนาวสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่ง เทศนา, กาลเป็นที่จบลงแห่งเทศนา (เทศน์จบ).
  4. เทสนาวิธีกุสลตา : (อิต.) ความที่แห่ง...นั้น เป็นผู้ฉลาดในวิธีแห่งการแสดง, ความที่ แห่งพระพุทธเจ้าทรงเป็นผู้ฉลาดในวิธี แห่งเทศนา.
  5. เทสนาวิลาส : ป. ความไพเราะแห่งเทศนา, ทำนองเทศน์อันไพเราะ, ลีลาการแสดงธรรมอันจับใจ
  6. ธมฺมจกฺก : (นปุ.) ธรรมเพียงดังจักร, ล้อคือ ธรรม, ลูกล้อคือธรรม , ธรรมจักร. เรียก พระธรรมเทศนา ซึ่งพระพุทธเจ้าเทศน์ ครั้งแรกว่า พระธรรมจักร เป็นคำเรียก แบบย่อ.
  7. ธูม : (ปุ.) ความโกรธ, ควัน, ควันไฟ, ความตรึก, กามคุณ ๕, ธรรมเทศนา. ธูปฺ กมฺปนสนฺตาเปสุ, โม. กัจฯ และรูปฯ ลง มนฺ ปัจ. ลบ นฺ. ส. ธูม.
  8. สามุกฺกสิกเทสนา : (อิต.) เทสนาอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, เทศนาที่พระพุทธเจ้าทรงให้ผ่องใสด้วยพระองค์เอง, พระธรรมอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, ฯลฯ. คือ อริสัจ ๔.
  9. สามุกฺกสึกธมฺม : (ปุ.) เทสนาอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, เทศนาที่พระพุทธเจ้าทรงให้ผ่องใสด้วยพระองค์เอง, พระธรรมอันพระพุทธเจ้าทรงให้รุ่งเรืองด้วยพระองค์เอง, ฯลฯ. คือ อริสัจ ๔.
  10. อาณาเทสนา : (อิต.) การแสดงถึงบังคับ, การแสดงถึงข้อบังคับ, คำสอนที่เป็นการบังคับ, คำสอนที่เป็นข้อบังคับ, คำสอนสำหรับบังคับ, อาณาเทศนาได้แก่พระวินัยปิฏก.
  11. อานุปุพฺพิกถา : อิต. ถ้อยคำ หรือเทศนาที่แสดงตามลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ
  12. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  13. อุจฺจารณ : (วิ.) เปล่ง, เทสนา, ชี้แจง, แถลง, บรรยาย, แสดง, สวด. อุปุพฺโพ, จรฺ คติยํ, ยุ.
  14. สาตฺถิก : (วิ.) เป็นไปกับด้วยประโยชน์ วิ. สห อตฺเถน วตฺตตีติ สาตฺถิกา (เทสนา). ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท. เป็นไปกับด้วยวาจามีประโยชน์ วิ. อตฺโถ อสฺส อตฺถีติ อตฺถิกา(วาจา). อิกปัจ. ตทัสสัตถิตัท. สห อตฺถิ กาย ยา วตฺตตีติ สาตฺถิกา (เทสนา). สหบุพ. พหุพ.

(0.0118 sec)