Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เที่ยว , then ทยว, เที่ยว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เที่ยว, 123 found, display 1-50
  1. มคฺคุทฺเทสก : (ปุ.) คนผู้นำทาง, คนผู้นำคนอื่นเที่ยว, มัคคุเทสก์ (ผู้นำคนอื่นซึ่งไม่ชำนาญทางหรือสถานที่นั้นๆ เที่ยว).
  2. กมฺมวฏฏ : (นปุ.) ความวนด้วยอำนาจแห่ง กรรม, ความวนแห่งกรรม, การท่องเที่ยว ไปด้วยอำนาจแห่งกรรม, การท่องเที่ยวไป ด้วยอำนาจแห่งผลของกรรม, วนคือกรรม.
  3. กามาวจร : ค. ซึ่งท่องเที่ยวไปในกาม
  4. กามาวจรจิตฺต : นป. จิตที่ท่องเที่ยวไปในกาม
  5. กามาวจรวิปาก : นป. จิตซึ่งเป็นผลท่องเที่ยวไปในกาม
  6. กิเลสวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) วนคือกิเลส, กิเลสวัฏ. กิเลสเป็นเหตุให้สัตว์วนคือท่องเที่ยวหรือ เวียนว่ายตายเกิดในภพต่าง ๆ เพราะเมื่อ กิเลสเกิดขึ้นแล้วเป็นเหตุให้ทำกรรมเมื่อทำ กรรมแล้วจะต้องได้รับผลของกรรมนั้น เมื่อเสวยผลของกรรมอยู่ กิเลสก็เกิดขึ้น อีก วนกันไปอย่างนี้ กว่าพระอรหัตต- มรรคจะตัดให้ขาดลง. ธรรมปริจเฉทที่ ๒.
  7. ควช : (ปุ.) โคลาน (งัวลาน คืองัวป่า), โค เพลาะ (วัวโทน เที่ยวไปโดดเดี่ยว). วิ. โค วิย วชติ อชตีติ วา ควโช. วชฺ อชฺ วา คมเน, อ.
  8. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  9. โคจร : (วิ.) เป็นที่เที่ยวไปแห่งอินทรีย์ วิ. คาโว อินฺทฺริยานิ จรนฺติ เอตฺถาติ โคจโร. เป็นที่เที่ยวไปราวกะว่าที่เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค, เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค. วิ. คาโว จรนฺติ เอตฺถาติ โคจโร. เที่ยวไป, ว่าย อุ. วาริโคจโร (ปลา) ว่ายในน้ำ. โคปุพฺโพ, จรฺ จรเณ, อ.
  10. โคจรคาม : (ปุ.) บ้านเป็นที่เที่ยวแห่งภิกษุราว กะว่าที่เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค, โคจรคาม คือ บ้านที่ภิกษุไปบิณฑบาตเสมอหมู่บ้านที่เป็นที่เที่ยวไปบิณฑบาตเสมอ หมู่บ้านที่ เป็นที่เที่ยวไปบิณฑบาตของสมณะ.
  11. ฆณฺฏิก : (ปุ.) คนลาดตระเวน, คนผู้เที่ยวไป ด้วยจักร, คนผู้เที่ยวสดุดีเป็นหมู่. ฆณฺฏฺ ภาสเน, อิโก.
  12. จกฺกิก : (ปุ.) คนเที่ยวไปด้วยจักร, คนลาดตระ เวน. ณิกปัจ. อภิฯ ลง อิก ปัจ.
  13. จญฺจลติ : ก. เคลื่อนไหวไปมา, ร่ายรำ, ท่องเที่ยว
  14. จร : (วิ.) บรรลุ, ไป, เที่ยวไป, เคลื่อนที่ไป, เคลื่อนที่ได้. จรฺ คติยํ, อ. สั่งสม, สะสม, รวบรวม. จรฺ สญฺจเย, อ. ประพฤติ จรฺ จรเณ, อ. สละ, ละ, ทิ้ง. จรฺ จชเน, อ. กิน, บริโภค. จรฺ ภกฺขเณ, อ. ยกขึ้น, สั่น, ส่าย, กลับกลอก, คลอนแคลน. จรฺ อุกฺขิปเน, อ.
  15. จรก : (ปุ.) คนเที่ยวไป, ฯลฯ. ก สกัด. ส. จรก.
  16. จรติ : ก. เที่ยวไป, ท่องเที่ยวไป, ดำเนินไป, ประพฤติ
  17. จราเปติ : ก. ให้เที่ยวไป, ให้เดินไป, ให้เคลื่อนไป; ให้เดินเป็นวงกลม
  18. จริต : (นปุ.) การเที่ยวไป (ของจิต) ความประ พฤติ, เรื่องราว, นิสัย, พื้น, พื้นเพ, พื้นเพ ของจิต, จริต, (พื้นเพของจิต ของแต่ละบุค คล ซึ่งจะหนักไปในทางใดทางหนึ่งในหก ทาง ดูจริต ๖ ในหลักธรรมะ) จรฺ จรเณ, โต, อิอาคโม.
  19. จริตุ : ป. คนผู้เที่ยวไป, ผู้ประพฤติ, ผู้ปฏิบัติ
  20. จริย : (นปุ.) การเที่ยวไป, ความประพฤติ
  21. จาร : (ปุ.) คนสอดแนม, การเที่ยวไป, การเป็น ไป, ความประพฤติ. จรฺ จรเณ, โณ.
  22. จารก, - ริก : ๑. ค. ผู้เที่ยวไป, ผู้ท่องเที่ยวไป, ผู้ประพฤติ; ๒. ป. คุก, เรือนจำ
  23. จารณ : ค., นป. ผู้เที่ยวไป, ผู้ประพฤติ; การให้เที่ยวไป, การจัดการ, ความประพฤติ
  24. จารปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้เที่ยวไป, บุรุษผู้สอดแนม, แนวที่ห้า, จารบุรุษ (ผู้หาข่าวฝ่ายข้าศึกมา ให้ฝ่ายตน).
  25. จาริก : (วิ.) ผู้เดินไป, ผู้เที่ยวไป, ผู้เที่ยวไป เพื่อสั่งสอนหรือแสวงบุญ.
  26. จาริกา : อิต. การเที่ยว, การท่องเที่ยว, การเดินทาง
  27. จารี : ค. ผู้มีปกติประพฤติ, ผู้มักเที่ยวไป
  28. จาเรติ : ก. ให้เที่ยวไป, ให้เป็นไป, ให้ซ่านไป, ปล่อยให้เที่ยวไป
  29. จิณฺณ : กิต. (อันเขา) ประพฤติแล้ว, อันเขาปฏิบัติแล้ว; เที่ยวไปแล้ว
  30. จิณฺณฏฐาน : นป. ที่ตนเคยเที่ยวไปแล้ว; ฐานะที่เคยประพฤติมาแล้ว
  31. ฉกามาวจร : (ปุ.) ภพเป็นที่เที่ยวไปของสัตว์ผู้ เสพกามหกชั้น, ฉกามาพจร ชื่อของสวรรค์ ๖ ชั้น เป็นที่อยู่ของสัตว์ผู้เสพกาม.
  32. ชนปทจาริกา : อิต. ผู้เที่ยวไปในชนบท
  33. ชลโคจร, - จรก : ๑. ป. ปลา; ๒. ค. ผู้เที่ยวไปในน้ำ, ผู้อาศัยอยู่ในน้ำ
  34. ชลจร : (ปุ.) ทางน้ำ, สัตว์ผู้เที่ยวไปในน้ำ, สัตว์น้ำ, ปลา. วิ. ชเล จรตีติ ชลจโร. อ. ปัจ
  35. ตถา เอว ตเถว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น นั่นเที่ยว, เหมือนอย่างนั้น.
  36. ถลโคจร : ค. ซึ่งเที่ยวหากินบนบก, ซึ่งอาศัยอยู่บนบก
  37. ทรีจร : ค. ซึ่งเที่ยวไปตามซอกเขา, ซึ่งอยู่ในถ้ำ
  38. ทุคฺคสญฺจาร : ป. การท่องเที่ยวไปในทางกันดาร; ทางที่สัญจรไปมาได้ยาก
  39. เทวจาริกา : อิต. การจาริกไปในหมู่เทวดา, การเที่ยวไปในสวรรค์
  40. นาวาสญฺจาร : ป. การเที่ยวทางเรือ, ท่าเรือ
  41. นาวิก : (วิ.) ผู้เที่ยวไปด้วยเรือ, ผู้ข้ามด้วยเรือ, ผู้ข้ามแม่น้ำด้วยเรือ, ผู้ประกอบในเรือ, ผู้เป็นใหญ่ในเรือ. วิ. นาวาย จรตีตี นาวิโก. เป็นต้น. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  42. นิเกตสารี : ค. ผู้เที่ยวไปตามบ้าน, ผู้เที่ยวไปในบ้าน
  43. ปจรติ : ก. ประพฤติ, เที่ยวไป
  44. ปฏิจรติ : ก. เที่ยวไป, ท่องเที่ยว, เกี่ยวข้อง; กลบเกลื่อน, ทำให้สับสน, พูดวกวน, พูดกลับไปกลับมา, ทำ (ปัญหา) ให้คลุมเครือ
  45. ปตฺถคู : ค. ผู้เชื่อฟังคำ, ผู้ว่าง่าย; เดินไป, เที่ยวไป
  46. ปถาวี : ป. ผู้เดินทาง, นักท่องเที่ยว
  47. ปทจร : (ปุ.) คนเที่ยวไปด้วยเท้า, คนเดินเท้า, การเที่ยวไปด้วยเท้า, การไปด้วยเท้า, บทจร. ไทยใช้ บทจร เป็นกิริยาว่าเดินไป.
  48. ปทฺธคู : ค. ผู้เชื่อฟัง, ผู้ว่าง่าย, ผู้คอยรับใช้; ผู้เดินไป, ผู้เที่ยวไป, ผู้เดินทาง
  49. ปพฺภมติ : ก. ท่องเที่ยวไปมา, วิ่งไปมา
  50. ปมทวน : (นปุ.) สวนนางข้างใน ( สวนหลวง ทรงให้สร้างขึ้นเพื่อนางข้างใน ไม่ใช่เป็น ที่เที่ยวของชนอื่น ) วิ. ปมทานํ วนํ ปมทาวนํ. รัสสะ อา ที่ ทา เป็น อ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-123

(0.0231 sec)