Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เท่านั้น , then ทานน, เท่านั้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เท่านั้น, 18 found, display 1-18
  1. เกวล : อ. อย่างเดียว, เท่านั้น
  2. ตาว : (อัพ. นิบาต) ตราบนั้น, เพียงนั้น, เท่านั้น, โดยแท้, แน่แท้, ก่อน, แรก.
  3. เอว : (อัพ. นิบาต) เทียว, แล, นั่นเทียว, นั่น แล, นั่นเอง, อย่างเดียว, ทีเดียว, เท่านั้น, ทั้งนั้น, แน่นอน, แน่ละ, นั่นแหละ, นี่ แหละ, สักว่า, คือ, แน่, เด็ดขาด, ไม่เว้นละ.
  4. เอว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น, นี้, อย่างนี้, ด้วยประการนี้, ด้วยประการอย่าง นี้, ด้วยประการนั้นเทียว, เท่านั้น, อย่างนั้น. ที่ใช้เป็นประธาน เอวํ อ. อย่างนั้น, อ. อย่างนี้ ที่ใช้เป็นคำถาม เหน็บคำว่า “หรือ”.
  5. อวสฺสว : ค. มีผล, นิยมใช้ในรูปปฏิเสธว่า “อนสฺสว = ไม่มีผล” เท่านั้น
  6. อาสว : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไป ทั่ว ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไปใน ภพทั้ง๓๑ภพ, กิเลสเครื่องหมักดอง, กิเลส, อันตราย, อุปัททวะ, เหล้าอันบุคคลทำด้วย ดอกไม้, น้ำดอง, สุรา, เมรัย. ในที่ต่าง ๆ แปลว่า เมรัย เท่านั้น แต่ อภิฯ แปลว่า สุรา ด้วย. อาปุพฺโพ, สุ ปสเว, โณ.
  7. เอตฺตาวตก : (วิ.) มีประมาณเท่านี้, มีประมาณ เท่านั้น. วิ. เอตํ ปริมาณ มสฺสาติ เอตฺ ตาวตโก. เอต+อาวตก ปัจ. ซ้อน ต. คำ แปลแรกเป็น เอต ที่แปลงมาจาก อิม คำ แปลหลังเป็น เอต ที่แปลว่า นั่น, นั้น.
  8. คุณธมฺม : (ปุ.) สภาพผู้ทรงไว้ซึ่งความดี, ธรรมคือความดี, ธรรมเป็นความดีเท่านั้น, ธรรมอันเป็นความดี.
  9. ตาวตา : (อัพ. นิบาต) มีประมาณเพียงนั้น, มีประมาณเท่านั้น.
  10. ตาวนฺตุ : (วิ.) มีประมาณเท่านั้น, มีประมาณ เพียงนั้น. ต+อาวนฺตุ ปัจ. รูปฯ ๓๖๙ เป็น ต+วนฺตุ ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา. โมคฯ เป็นตาวนฺต.
  11. ตาวมหนฺต : (วิ.) ใหญ่เพียงนั้น, ใหญ่เท่านั้น.
  12. นิวตฺตนีย : ค. ซึ่งกลับ (ใช้เฉพาะรูปปฏิเสธเท่านั้น เช่น “อนิวตฺตนีย = ซึ่งไม่กลับ”)
  13. ปนุนฺนปจฺเจกสจฺจ : ค. ผู้มีสัจจะเฉพาะอย่างอันตนบรรเทาเสียแล้ว, ละความยึดถือเฉพาะอย่างๆ ที่ว่า ‘อย่างนี้เท่านั้นจริง’ ได้แล้ว
  14. ภควนฺตุ : (ปุ.) พระผู้มีพระภาคเจ้า. ศัพท์นี้ใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าเท่านั้น และใช้เป็น ๓ วจนะ คือ เอกวจนะ ท๎วิวจนะ และ พหุวจนะ ใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวงด้วย ที่เป็น อาลปนะ แปลว่า พระพุทธเจ้าข้า ได้. พระนามนี้มีอรรถมากตามธาตุ. ภชฺ เสวายํ ภาชเน จ ทาเน จ. ภญฺชฺ อวมทฺทเน, วนฺตุ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ถ้าตั้ง ภญฺชฺ ธาตุ พึงลบ ญฺ สังโยค. ไตร. ๒๙, ๓๐.
  15. ยมกปาฏิหาริย : (นปุ.) ปาฏิ หาริย์เป็นคู่, ปาฏิหาริย์ที่ทรงแสดงปราบเดียรถีย์ มีครั้งเดียวเท่านั้น.
  16. ยาวกาลิก : (นปุ.) ของเป็นยาวกาลิก คือของที่ภิกษุรับประเคนได้เฉพาะเวลาเช้าถึงก่อนเที่ยง และฉันได้เช้าชั่วเที่ยงเท่านั้น ได้แก่ ข้าว อาหารทุกอย่าง.
  17. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  18. เอตาวนฺต เอตฺตาวนฺต : (วิ.) มีปริมาณเท่านี้, มีประมาณเท่านี้. อิม+วนฺต ปัจ. แปลง อิม เป็น เอต ทีฆะ ที่สุดศัพท์ ซ้อน ตฺ. มีปริมาณเท่านั้น, มีประมาณเท่านั้น. เอต+วนฺต ปัจ. เป็น เอตฺตาวนฺตุ โดยลง วนฺตุ ปัจ. บ้าง. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๔๓ ลง อาวนฺตุ ปัจ. แปลง อุ เป็น อ.

(0.0136 sec)