Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เนิ่น , then นน, เนิ่น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เนิ่น, 35 found, display 1-35
  1. นิปฺปปญฺจ : ค. ซึ่งไม่มีความยุ่งยากหรือความเนิ่นช้า, ซึ่งปราศจากกิเลสเครื่องเนิ่นช้า
  2. ปปญฺจ : (ปุ.) ความแพร่หลาย, ความยืดยาว, ความซึมซาบ, ความเนิ่นช้า, ความเยิ่นเย้อ, ความนาน, ความเนิ่นนาน, ความขัดข้อง, กาลช้า, กาลเนิ่นช้า, ความแพร่หลาย ฯลฯ, ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ ให้เนิ่นช้า. วิ. ปปญฺจียเตติ ปปญฺโจ. ปปุพฺโพ, ปจิ วิตฺถาเร, อ, นิคฺคหิตาคโม.
  3. ปปญฺจธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ เนิ่นช้า. ปปัญจธรรม ได้แก่ ตัณหา มานะ และทิฎฐิ ( ความเห็นผิด ) เพราะทำ สังสารวัฎให้ยืดยาว.
  4. ปปญฺจสงฺขา : อิต. ธรรมที่นับว่าเป็นเครื่องทำให้เนิ่นช้า, ธรรมที่เป็นส่วนแห่งความเนิ่นช้า, เครื่องหมายแห่งความลุ่มหลง
  5. ปปญฺจา : (อิต.) ความเนิ่นช้า, ฯลฯ, ปปัญจา ชื่อของตัณหา, ตัณหา.
  6. ปปญฺจิต : ๑. กิต (อันเขา) ให้เนิ่นช้า, ให้หน่วงเหนี่ยว, ให้ล่วงแล้ว; ๒. นป. ความเนิ่นช้า, ความคิดฟุ้งเฟ้อ, ความหลงผิด
  7. ปปญฺเจติ : ก. ทำให้เนิ่นช้า, ชักช้า, ให้พิสดาร, กล่าวให้เยิ่นเย้อ, ทำให้ฟั่นเฝือ, อธิบาย, หลงผิด
  8. พฺยาส : (ปุ.) ความแพร่หลาย, ความพิสดาร, ความยืดยาว, ความเนิ่นช้า, ความเนิ่นนาน, ความซึมซาบ. วิ ปพฺโพ, อสุ เขปเน, โณ.
  9. อติปฺปญฺจ : ป. ความเนิ่นช้ายิ่ง
  10. อปฺปปญฺจ (อปฺปญฺจ) : ป. อัปปปัญจธรรม, ความไม่เนิ่นช้า
  11. ธุ (ธู) นน : นป. การสบัด, การหวั่นไหว, การกำจัด, การทำลายละ (กิเลส)
  12. นนุ : (อัพ. นิบาต) อะไร, อย่างไร, อย่างไรสิ, มิใช่หรือ, บ้างหรือหนอ. ส. นนุ.
  13. นูน : อ. แน่
  14. อชานน : ป., นป. ความไม่รู้, อวิชชา
  15. กุญฺจิต : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, ปิด, แนบ, แน่น, สนิท.
  16. กุฏุกุญฺจก : ค. ใกล้ชิด, กระชับ, แน่น
  17. ขินฺน : (วิ.) ลำบาก, เหน็ดเหนื่อย, เป็นทุกข์. ขิทิ ทีนิเย, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ที่สุดในธาตุ.
  18. คาฬฺห : (วิ.) มั่น, แน่น, แน่นอน. คหฺ อุปา ทาเน, โต. กัจฯ ๕๘๔ แปลง ต เป็น ห แปลงที่ สุดธาตุเป็น ฬ. บาลีไวยากรณ์แปลง ต เป็น ฬฺห ลบที่สุดธาตุ.
  19. ฉนฺน : (วิ.) สมควร, เหมาะสม, นุ่งห่ม, ปกปิด, กำบัง, ปิดบัง, ซ่อนเร้น, เงียบ, วังเวง, สงัด, ลับ. ฉทฺ สํวรเณ, โต. แปลง ต เป็น นฺน ลบที่สุดธาตุ กัจฯ และรูปฯ แปลง ต เป็น อนฺน ลบที่สุดธาตุ อภิฯ แปลง ต กับที่สุด ธาตุเป็น อนฺน.
  20. ชณฺณุ ชณฺณุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. วิ. ชายติ คมน เมเตนาติ ชณฺณุ, ชนฺ ปาตุภาเว, ณุ. แปลง นฺ เป็น นฺน แล้วแปลงเป็น ณฺณ ศัพท์หลัง ก สกัด ใช้ ชนฺนุ เป็นส่วนมาก.
  21. ตุณฺณวาย ตุนฺนวาย : (ปุ.) ช่างเย็บ, ช่างชุน. วิ. ตุนฺนํ อวายิ วายติ วายิสฺสตีติ ตุนฺนวาโย. ตุนฺนปุพฺโพ, วา คนฺธเน ( ตัด แทง) , อ. แปลง อา ที่ธาตุเป็น อาย หรือ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ก็ไม่ต้องแปลง อา หรือ ตั้ง เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย ศัพท์ต้น แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
  22. ตุลิกา : (อิต.) นุ่น, ฟูกอันบุคคลยัดแล้วด้วย นุ่น, ฟูกยัดนุ่น.
  23. ตูล : (ปุ. นปุ.) นุ่น, สำลี, ฝ้าย. ตูลฺ นิกฺกรีเส, อ.
  24. เตล : (นปุ.) น้ำมัน, ( ที่ได้จากพืชและเนื้อสัตว์ ไขสัตว์) , น้ำมันงา ( ได้จากงา ). ติลฺ สิเนหเณ, โณ. แปลว่า สำลี นุ่น ฝ้าย ก็มี. ส. ไตล.
  25. ถทฺธ : (วิ.) ดื้อ, ดื้อด้าน, ดื้อดึง, แข็ง, กระด้าง, แข็งกระด้าง, แน่น, แน่นหนา, มั่น, ตระหนี่, หยิ่ง, เย่อหยิ่ง. ถภิ ปติพนฺธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  26. นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
  27. ปรณฺณ : (นปุ.) พืชอื่นจากข้าว ( คือถั่ว ), ถั่ว ( ต่างๆ ). ปร+อนฺน แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
  28. ปุพฺพณฺณ : (นปุ.) ของที่กินก่อน, ปุพพัณชาต. ปุพพัณชาต ได้แก่ ธัญชาติ ๗ อย่าง คือ. ๑. สาลี ข้าวไม่มีแกลบ ๒. วีหิ ข้าวเปลือก ๓. กุทฺรุสโก หญ้ากับแก้ ๔. โคธุโม ข้าวละมาน ๕. วรโก ลูกเดือย ๖. ยโว ข้าวเหนียว และ ๗. กงฺคุ ข้าวฟ่าง. ไตร ๓๐ ข้อ ๗๖๒. วิ. อปรนฺนสฺส ปุพฺเพ ปวตฺตํ อนฺนํ ปุพฺพนฺนํ. แปลง นฺน เป็น ณฺณฺ อภิฯ เป็น ปุพฺพนฺน.
  29. สมฺพาธ : (วิ.) แคบ, คับแคบ, เบียดเสียด, ยัดเยียด, แน่น, อัดแอ, แออัด.
  30. อติสมฺพาธ : ค. แคบยิ่ง, แคบมาก, แน่น
  31. อมุ, อมุก : ส. โน่น, โน้น
  32. อุสฺส อุสฺสนฺน : (วิ.) หนา, หนาขึ้น, มาก, สูง, สูงขึ้น. อุปุพฺโพ, สทฺ วิสรเณ, อ, สฺสํโย โค, ทฺโลโป. ศัพท์หลังลง ต ปัจ. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ท.
  33. เอตฺตาวตก : (วิ.) มีประมาณเท่านี้, มีประมาณ เท่านั้น. วิ. เอตํ ปริมาณ มสฺสาติ เอตฺ ตาวตโก. เอต+อาวตก ปัจ. ซ้อน ต. คำ แปลแรกเป็น เอต ที่แปลงมาจาก อิม คำ แปลหลังเป็น เอต ที่แปลว่า นั่น, นั้น.
  34. เอว : (อัพ. นิบาต) เทียว, แล, นั่นเทียว, นั่น แล, นั่นเอง, อย่างเดียว, ทีเดียว, เท่านั้น, ทั้งนั้น, แน่นอน, แน่ละ, นั่นแหละ, นี่ แหละ, สักว่า, คือ, แน่, เด็ดขาด, ไม่เว้นละ.
  35. เอโส : ค. นี้, นั่น, นั้น
  36. [1-35]

(0.0137 sec)