Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เบา , then บา, เบ, เบะ, เบา, เปา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เบา, 36 found, display 1-36
  1. ตนุ ตนุก : (วิ.) ละมุนละม่อม, ละเอียด, ห่าง, น้อย, เล็ก, ผอม, เบา, บาง, บางเบา. ตนุ ตนุกรเณ, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  2. ถิน : (วิ.) หย่อน, ย่อหย่อน, เบา, หลวม, เหลว (ไม่ได้เรื่อง), คร้านจิต (จิตท้อถอยไม่ อยากทำอะไร). สถฺ เสถิลฺเล, อิโน, ลบ ต้นธาตุ.
  3. สิฐล สิถิล : (วิ.) หย่อน, เบา, อ่อน, หลวม. สถฺ เสถิลฺเล, อิโล, อสฺสิ. ศัพท์ต้นแปลง ฤ เป็น ฐฺ.
  4. สิถิล : ค. หย่อน, เบา
  5. นิกฺกรีส : (วิ.) มีกากออกแล้ว, เบา.
  6. กากลี : (อิต.) เสียงเล็ก, เสียงเบา, เสียงเล็ก ที่สุด, เสียงเบาที่สุด. วี. อีสํ กลา วาณี กากลี. กา + กลา + อี ปัจ. วิ. ใช้ อีส แทน กา กา ศัพท์ มี สุขุม เป็น อรรถ.
  7. กายลหุตา : (อิต.) ความเบาแห่งกาย. ตา ปัจ. สกัด เพื่อให้ศัพท์คุณเป็นนามนาม.
  8. โกลผล : (นปุ.) กระเบา (หมายเอาผล), ผลกระเบา.
  9. โกลมตฺตี : ค. มีขนาดเท่าผลกระเบา, มีขนาดเท่าผลพุทรา
  10. โกลิ : (ปุ.) มะดูก, หมากดูก, หมากเบา.
  11. จิตฺตลหุตา : อิต. ความเบาแห่งจิต
  12. ทารี : (ปุ.) สามี, ภัสดา, ภรรดา, ภารดา, ผัว (ผู้ทำลายหรือแบ่งเบาความทุกข์ของภรรยา).
  13. ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
  14. ทุกฺกฏ : นป. การกระทำผิด, ความชั่ว, ชื่ออาบัติเบาชนิดหนึ่งซึ่งเรียกว่าอาบัติทุกกฎ
  15. ปรายณ, - ยน : นป. ที่พึ่ง, ที่พำนัก, ที่พักพิง, เครื่องแบ่งเบา, จุดหมายขั้นสุดท้าย, จุดจบ; ในคำสมาสแปลว่า....เป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มี....เป็นที่สุด, ตรงต่อ..., เที่ยงต่อ...
  16. พทรี : อิต. ต้นพุทรา, กะเบา
  17. มธุมุตฺต : (นปุ.) เบาหวาน ชื่อโรคชนิดหนึ่งมีระดับน้ำตาลในเลือดมากกว่าปกติ.
  18. มธุเมห : (ปุ.) เบาหวาน, โรคเบาหวาน.
  19. มุตฺต : (นปุ.) ปัสสาวะ, น้ำมูตร, น้ำเบา, น้ำเยี่ยว, เยี่ยว. มุจฺ โมจเน, โต, จสฺส โต. มุตฺตฺ ปสฺสาเว วา, อ. มิหฺ เสจเน วา. แปลง ต เป็น ตฺต ลบ หฺ แปลง อิ เป็น อุ.
  20. เมห : (ปุ.) ป้าง, นิ่ว,โรคป้าง, โรคนิ่ว, มูตร, น้ำมูตร, เยี่ยว, น้ำเยี่ยว, น้ำเบา, ปัสสาวะ. มิหฺ เสจเน, โณ.
  21. ลหุก : ค. เบา, น้อย
  22. สนฺธิจฺเฉท : (วิ.) ผู้ตัดซึ่งที่ต่อ, ฯลฯ, ผู้ตัดช่อง, ผู้ตัดช่องย่องเบา, ผู้ขุดอุโมงค์.
  23. สนฺธิจฺแฉทก : ค. ผู้ตัดช่องย่องเบา
  24. สลฺลหุก : (วิ.) เบา, เบาพร้อม (คือ เบากาย เบาจิต), กระปี้กระเปร่า. สํปุพฺโพ, สํฆฺ คติโสสเนสุ, โก. ลง อปัจ. ประจำหมวดธาตุ ลบนิคคหิตที่ธาตุ แปลง ฆ เป็น ห แปลง อ ที่ ห เป็น อุ แปลงนิคคหิตที่บทหน้าเป็น ล.
  25. สุกฺกเมห : (ปุ.) โรคเบาขาว, ป้าง, นิ่ว.
  26. อติสิถิล : ค. หย่อนยิ่ง, เบามาก
  27. กณเวร : (ปุ.) ชะบา, ต้นชะบา.
  28. กูฏงฺค : นป. บ่า, ไหล่, จะงอยบ่า
  29. เทสปญฺญตฺติ : (อิต.) บัญญัติของท้องถิ่น, เทส+ปญฺญตฺติ, บัญญัติของเทศบาล, เทสปาล+ปญฺญตฺติ. เทศบัญญัติ คือ กฎหมายของเทศบาล มีผลบังคับอย่างเดียวกันกับกฎหมาย แต่ใช้บังคับเฉพาะ ของเทศบาลนั้นๆ.
  30. ภุชสิร : (ปุ.) บ่า, ไหล่. วิ. ภุชานํ สิโร มตฺถกํ ภุชสิ-โร.
  31. ยวสูก : ป. หนวดข้าวบาเล่ย์, หนวดข้าวโพด
  32. สูก : ป. หนวดข้าวบาเล่ย์, หนวดข้าวโพด
  33. อกฺขา : (อิต.) ลูกบาสก์.
  34. อภิณฺหโส : (อัพ. นิบาต) เนือง ๆ, บ่อย ๆ, เสมออภิฯเป็นปุนัปปุนัตถนิบาตรูปฯเป็นกาลสัตตมีนิบาต.
  35. อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ภาค, ส่วน, แนว, คอต่อ.อสฺคติทิตฺยาทาเนสุ, อ.
  36. อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ส่วน, แผนก, คอต่อ, มุม, องสา, องศา, ขันธ์, วิ.อนติอมติวาเอเตนาติ อํโส. อนฺ ปาณเน, อมํ คมเน วา, โส, นสฺสมสฺสวานิคฺคหีตํ(แปลง นฺ หรือ มฺ เป็น นิคคหิต). อํสฺ สงฺฆาเต วา, อ.อังสะ ชื่อของผ้าที่ภิกษุสามเณรใช้คล้องเฉวียงบ่าจากบ่าซ้ายมาใต้แขนขวาก็มีรากศัพท์มาจากคำนี้สฺอํศอํส.
  37. [1-36]

(0.0721 sec)