Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เบียดเสียด, เสียด, เบียด , then เบียด, เบียดเสียด, สยด, เสียด .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เบียดเสียด, 43 found, display 1-43
  1. สมฺพาธ : (วิ.) แคบ, คับแคบ, เบียดเสียด, ยัดเยียด, แน่น, อัดแอ, แออัด.
  2. อาหุนทริก : ค. คับคั่ง, เบียดเสียด, แน่นขนัด
  3. อุปนิฆสติ : ก. เข้าไปเสียดสี, เบียดเสียด
  4. พาธก : ค. ซึ่งเบียดกัน, ซึ่งเสียดกัน, ซึ่งยัดเยียด ; ซึ่งคับแคบ
  5. อสงฺกิณฺณ : ค. ไม่เกลื่อนกล่น, ไม่คับคั่ง, ไม่เบียดเสียด
  6. อสงฺฆฏฺฏ : ค. ไม่ถูกกระทบ, ไม่ถูกเบียดเสียด, ไม่ถูกครูดสี
  7. กณฺเณชป : (ปุ.) คนพูดกระซิบที่หู, คนส่อ เสียด. กณฺเณ+ชป เป็น อลุตตสมาส.
  8. กณฺณชป : (ปุ.) คนส่อเสียด วิ. กณฺเณ ชปตีติ กณฺณชโป. กณฺณปุพฺโพ, ชปฺ วจเน, อ.
  9. ขทิร : (ปุ.) ไม้ตะเคียน, ไม้พยอม, ไม้สะเดา. วิ. ขทนฺติ ทนฺตา อเนนาติ ขทิโร. ขทฺ หึสาเถริเยสุ, อิโร. ขาทียติ ปาณเกหีติ วา ขทิโร. ขาทฺ ภกฺเขเณ, โร, รสฺสตฺตํ, อสฺส อิตฺตญฺจ. แปลว่า ไม้สะแก ไม้สีเสียด ก็มี.
  10. คายตฺติ, คายตฺตี : อิต. ชื่อฉันท์; ต้นสีเสียด
  11. ชฏติ : ก. เบียดกัน, รก, รุงรัง
  12. ทฺวิชิวฺห : (ปุ.) สัตว์มีลิ้นสอง. งู. คนมีลิ้นสอง หมายถึงคนส่อเสียด. วิ. เทฺว ชิวฺหา ยสฺสโส ทวิชิโวฺห.
  13. ทาสิม : ป. สีเสียดเทศ
  14. ปพฺพวาต : ป. โรคลมเสียดยอกตามข้อ, โรคปวดตามข้อ
  15. ปริกนฺตติ : ก. เฉือน, ฝาน, ตัด, ผ่าออก, เสียดแทง; หมุน, (จักร) ผัน, บิด
  16. ปิสุณ : นป. การพูดส่อเสียด, การยุยงให้แตกกัน
  17. ปิสุณวาจา : อิต. วาจาส่อเสียด, การพูดยุยงให้แตกกัน
  18. เปสุญฺญวาท : (ปุ.) คำส่อเสียด, คำพูดส่อเสียด, ถ้อยคำส่อเสียด, การกล่าววาจาส่อเสียด.
  19. เปสุณ : นป. คำส่อเสียด
  20. เปสุณการก : ค. ผู้ทำการส่อเสียด
  21. เปสุณิก : ค. ผู้ส่อเสียด
  22. เปสุเณยฺย : (วิ.) อันเกื้อกูลแก่วาจาส่อเสียด, ส่อเสียด.
  23. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  24. พาธ : ป. การเบียด, การเสียดสี, การกระทบ, การยัดเยียด, การคับแคบ
  25. รุชติ : ก. เสียดแทง, เจ็บปวด
  26. รุชน : นป., รุชา อิต. ความเสียดแทง, ความเจ็บปวด
  27. สตฺถกวาต : ป. ลมจุกเสียด
  28. สุจก : (วิ.) ส่อเสียด, เสียดแทง, ทิ่มแทง. สุจฺ เปสุญฺเญ, อ. ก สกัด.
  29. สุลา : (อิต.) สุลา ชื่อโรคหัวเดือนที่ขึ้นปลายนิ้ว, โรคจุกเสียด. สูลฺ รุชายํ, อ, รสฺโส.
  30. สูจก : (วิ.) ผู้แต่ง, ผู้ร้อยกรอง, ผู้ชี้แจง, ผู้ประกาศ. สูจฺ คนฺถเน, ณฺวุ. ผู้ส่อเสียด, ผู้พูดส่อเสียด. สูจฺ เปสุญฺเญ.
  31. สูจน : (นปุ.) การแต่ง, ฯลฯ, คำชี้แจง, คำประกาศ, คำแสดง, คำบ่ง, คำระบุ, การส่อเสียด, คำส่อเสียด. ยุ ปัจ.
  32. สูล : (ปุ. นปุ.) ความจุกเสียด, ความเสียดแทง, ขวากเหล็ก, หอก, หลาว, เครื่องแทง. สูลฺ รุชายํ, อ. ส. ศูล.
  33. สูลา : (อิต.) โรคจุกเสียด, โรคลมแทง, ตะคิว. ส. ศูล.
  34. เสเรยฺยก : (ปุ.) ต้นหงอนไก่, ต้นสีเสียด. วิ. สิรี วตฺตติ เยน โส เสรยฺยโก. เณยฺโย, สกตฺเถ โก.
  35. อปรชฺชติ : ก. ทำผิด, ฝ่าฝืน, ทำอันตราย, เสียดแทง
  36. อปิสุณ : ค. ไม่พูดส่อเสียดยุยง
  37. อปิสุณาวาจา : (อิต.) วาจามิใช่วาจาอักบดเสียซึ่งความรัก, วาจาไม่ส่อเสียด.
  38. อเปสุณ : ค. ไม่พูดส่อเสียด, ไม่พูดยุยง
  39. อุมส อุมฺมส : (วิ.) ทิ่มแทง, เสียดแทง, ด่า, พ้อ. อุปุพฺโพ, มสฺ หึสายํ, อ. ศัพท์หลัง ซ้อน มฺ.
  40. อุสุม : (ปุ.) ไอ, ไอน้ำ, ไออุ่น, ไอชุ่ม, ไออบ, ความร้อน, ฤดูร้อน, อรสุม. เรียกพยัญชนะ ที่มีลมเสียดแทรกออกมาตามฟัน ว่ามีเสียง อรสุม ได้แก่เสียง ศ, ษ, ส. ส.อุษฺม อุษมนฺ.
  41. โอติณฺณ : กิต. หยั่งลงแล้ว, ถูกเสียดแทงแล้ว, หลงรักแล้ว, ยึดติดแล้ว
  42. โอมส : (วิ.) แทง, ทิ่มแทง, เสียดแทง. โอ ปุพฺโพ, มสฺ หึสายํ, อ.
  43. โอมสวาท : (ปุ.) คำพูดทิ่มแทง, คำกล่าวทิ่ม แทง, คำพูดเสียดแทง, คำกล่าวเสียดแทง. คำกล่าวเสียดแทงให้เจ็บใจ. คำด่า, โอมส+วาท.
  44. [1-43]

(0.0623 sec)