Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เปล่าเปลี่ยว, เปลี่ยว, เปล่า , then ปลยว, ปลา, ปลาปลยว, เปล่า, เปล่าเปลี่ยว, เปลี่ยว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เปล่าเปลี่ยว, 148 found, display 1-50
  1. เอกากิย : ค. โดดเดี่ยว, เปล่าเปลี่ยว
  2. เอกากี : (วิ.) ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เปล่าเปลี่ยว. เอกศัพท์ อากี ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๕๕.
  3. เอกากินี : อิต. หญิงผู้เดียว, หญิงที่อยู่เปล่าเปลี่ยว
  4. เอกิกา : อิต. หญิงผู้เดียว, หญิงเปล่าเปลี่ยว
  5. : (วิ.) ว่าง, เปล่า, ว่างเปล่า, สูญ.
  6. เผคฺคุ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, หาแก่นมิได้, ไร้สาระ. วิ. ผลติ นิปฺผลํ คจฺฉตีติ เผคฺคุ (ถึงซึ่งความมีผลออกแล้ว ไม่มีผล). ผลฺ นิปฺผตฺติยํ, คุ, อสฺเส, ลสฺส โค.
  7. ลหุ : ๑. ค. เร็ว, พลัน; เบาะ; ซึ่งได้ปรารถนา; เปล่า, ไม่มีสาระ; ๒. อ. ดีละ
  8. สุญฺญ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, ว่างเปล่า, สงัด, หาแก่นมิได้, ไม่มีอะไร, หายไป, หายสิ้นไป, สูญ (หมด ไม่มีอะไรเหลือ). วิ. สุนสฺส หิตํสุญฺญํ (เกื้อกูลแก่การไป). สุน+ย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ สุนติ ตุจฺฉภาวํ คจฺฉตีติ วา สุญฺญํ. สุนฺ สคติยํ, โย. ส.ศุนย.
  9. ตุจฺฉ : (วิ.) เปล่า ( ไม่มีอะไร ว่าง), ว่าง, ว่าง เปล่า, หาแก่นมิได้, เท็จ. ตุจฺ วินาเส, ตุทฺ พฺยถเน วา, โฉ. ธาตุหลัง แปลง ทฺ เป็น จฺ. ส. ตุจฺฉ.
  10. พลิพทฺท พลิวทฺท : (ปุ.) โคมีกำลังอันเจริญ, โคใช้งาน, โคถึก (เปลี่ยว หนุ่ม), โคผู้เนื่องแล้วด้วยกำลัง, โคผู้. วิ. พลํ วทฺธยตีติ พลิวทฺโท พลิพทฺโท วา. พลปุพฺโพ, วทฺธฺ วฑฺฒนปูรเณสุ, อ. แปลง ธ เป็น ท.
  11. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  12. นิรตฺถ นิรตฺถก : (วิ.) มีประโยชน์ออกแล้ว, หาประโยชน์มิได้, ไม่มีประโยชน์, ปราศ จากประโยชน์, ไร้ประโยชน์, เปล่า. วิ. นตถิ อตฺโถ อสฺสาติ นิรตฺโถ นิรตฺถโก วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. รู อาคม ศัพท์หลัง ก สกัด.
  13. มุธา : (อัพ. นิบาต) ว่าง, เปล่า.
  14. นคฺค : (วิ.) เปล่า, เปลือย, เปลือยกาย. วิ. น คจุฉตีติ นคฺโค. นปุพฺโพ คมฺ คติยํ, กฺวิ. ลบ มุ แปลง ค เป็น คฺค หรือตั้ง ลคฺค สงฺเค, อ. แปลง ล เป็น น หรือ ตั้ง นชิ ลชิ ชิเลย, โณ. แปลง ช เป็น ค แล้วแปลงเป็น คฺค ธาตุหลังแปลง ล เป็น น. ส. นคฺน.
  15. โมฆ : (วิ.) เปล่า, ว่าง, ปราศจากประโยชน์, หาประโยชน์มิได้. มุหฺ เวจิตฺเต, อ, อุสฺโส, หสฺส โฆ. มุหฺ มุจฺฉายํ, โฆ, หฺโลโป.
  16. วิธุร : ค. เปลี่ยว, ว้าเหว่
  17. อสาร : (วิ.) เปล่า, ว่าง, หาแก่นมิได้, ไม่มีแก่น.วิ.นตฺถิสาโรยสฺมึตํอสารํ.ส.อสาร.
  18. กูฏโคณ : ป. วัวเปลี่ยว, วัวที่ไม่เชื่อง
  19. ขลฺลาฏสีส : (นปุ.) ศรีษะแห่งบุคคลผู้เป็นไป ด้วยความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่ง ศรีษะเปล่า, ศรีษะของคนหัวล้าน.
  20. โควิส โควุสก : (ปุ.) วัวถึก วัวเถลิง ( วัวเปลี่ยว วัวหนุ่ม ). โค+วสุ (คะนอง). ศัพท์ต้นแปลง อุ เป็น อิ ศัพท์หลัง ก สกัด. มีต้นไม้ชนิด หนึ่งชื่อ วัวเถลิง จะหมายถึงด้วยหรือไม่ ?
  21. ตุจฺฉปตฺตหตฺถ : (วิ.) ผู้มีบาตรเปล่าในมือ วิ. ตุจฺโฉ ปตฺโต ตุจฺฉปตฺโต.ตุจฺฉปตฺโตหตฺเถสุ ยสฺส โส ตุจฺฉปตฺตหตฺโถ.
  22. ตุจฺฉา : (อิต.) ความเปล่า, ฯลฯ, ตุทนํ ตุจฺฉา. ตุทฺ พฺยถเน, โฉ, ทสฺส โจ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘.
  23. ปนฺถ : (ปุ.) ทาง, หนทาง, ทางเปลี่ยว, ถนน. วิ. ปถยนฺติ ยนฺตฺยเนนาติ ปนฺโถ. ปถิ คติยํ, ลง นิคคหิตอาคม แปลงเป็น นฺ อภิฯ และฎีกาฯ ลง นฺ อาคมกลางธาตุ.
  24. ปริปนฺถ : (ปุ.) อันตรายเป็นเครื่องเบียดเบียน รอบ, อันตรายในทางเปลี่ยว, ทางเปลี่ยว, หนทางเปลี่ยว, อันตราย อุ. โลโภ ธมฺมานํ ปริปนฺโถ. ปริปุพฺโพ, ปถิ คติยํ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ถึนขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ถ้าได้กรานกฐินมีกำหนด ๗ เดือน คั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ถึง ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ไตร. ๒/๓๔.
  25. โมฆปุริส : ป. โมฆบุรุษ, บุรุษเปล่า, คนไร้ประโยชน์
  26. รโห : อ. อย่างลับ ๆ , ในที่ลับ, ในที่เปลี่ยว
  27. ริตฺตมุฏฺฐิ : ป. กำมือเปล่า
  28. ริตฺตหตฺถ : ค. ซึ่งมีมือเปล่า
  29. วิรห : ป. ความว่างเปล่า
  30. สุญฺญตา : (อิต.) ความที่แห่ง...เป็นของว่างเปล่า, ความที่แห่งของเป็นของว่างเปล่า, ฯลฯ, ความเป็นของว่างเปล่า. ตา ปัจ. ภาวตัท. ความว่าง, ความว่างเปล่า, ฯลฯ. ตา ปัจ. สกัด.
  31. อตฺตกิลมถานุโยค : (ปุ.) การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบาก, การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตน, การทรมาณตนให้ลำบากเปล่า, การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบากเปล่า, อัตกิลมถานุโยคชื่อทางสายหนึ่งในสามสายเป็นสายซ้าย.
  32. อติตุจฺจ : ค. ว่างเปล่า, ไม่มีอะไร
  33. อโมฆ : (วิ.) ไม่เปล่า, ไม่เปล่าจากประโยชน์, ไม่ไร้ประโยชน์.
  34. อสกูฏ : (ปุ.) จะงอยบ่า, หัวไหล่ก็แปล. ส. อํสกูฏหนอก, เปลี่ยวโค (เนื้อที่นูนขึ้นที่คอ).
  35. อสุญฺญ : (วิ.) ไม่ว่าง, ไม่เปล่า, ไม่ว่างเปล่า.
  36. อากาสธาตุ : อิต. อากาศธาตุ, ที่ว่าง, สภาพที่ว่างเปล่า
  37. อากิญฺจญฺญ : นป. ความไม่มี, ความว่างเปล่า
  38. ปลาป : ป. การพูดพร่ำ, การพูดมาก
  39. ปลาปิต : กิต. ดู ปลาต
  40. ปลาปี : ค. ผู้พูดพร่ำ
  41. ปลาเปติ : ก. ให้หนีไป
  42. ปลายี : ค. ผู้หนีไป
  43. ปลาล : นป. ฟาง
  44. ปลาลปุญฺช : ป. กองฟาง
  45. ปลาส : ป. ใบไม้; ความขึ้งเคียด, ความปองร้าย, การตีเสมอ
  46. ปลาสาท : ค. มีใบไม้เป็นอาหาร, มีหนามเป็นอาหาร, แรด
  47. ปลาสี : ค. มีความปองร้าย
  48. วาริช : ค. เกิดแต่น้ำ; ปลา
  49. สมฺผปฺปลาป : (วิ.) (วจีประโยค) เป็นเครื่องกล่าวซึ่งคำอันทำลายเสียซึ่งประโยชน์, เป็นเครื่องกล่าวซึ่งถ้อยคำอันไม่เป็นประโยชน์แก่ตนและผู้อื่น, กล่าวซึ่งคำอันโปรยเสียวซึ่งประโยชน์, กล่าวคำเพ้อเจ้อ. วิ. สมฺยํ นิรตฺถกํ ปลปติ เปเตนาติ สมฺผปุปลาโป. สมฺผปุพฺโพ, ปปุพฺโพ จ, ลปุ วจเน, โณ. ปสํโยโค.
  50. จมฺปกนีลุปฺปลาทิเภท : (วิ.) อันต่างด้วยดอกไม้ มีดอกจำปา และดอกอุบลเขีนวเป็นต้น.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-148

(0.0680 sec)