Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นประจำ, ประจำ, เป็น , then ปน, ประจำ, เป็น, เป็นประจำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นประจำ, 4363 found, display 1-50
  1. นิพนฺธ : อ. เนือง ๆ, เสมอ, เป็นประจำ
  2. นิจฺจ : (วิ.) เที่ยง, มั่นคง. แน่นอน, ยั่งยืน, ทุกเมื่อ, สะดวก, ประจำ, เนืองๆ, เป็นนิจ, เป็นนิตย์, เสมอ. วิ. นาสภาเวน น อิจฺจํ น คนฺตพฺพนฺติ นิจฺจํ นาสํ น คจฺฉตีติ วา นิจฺจํ นาสบทหน้า คมฺ+กฺวิ ปัจ. ลบ ส และ มฺ แปลง อา เป็น อิ แปลง ค เป็น จ ซ้อน จฺ ส. นิตฺย.
  3. กุสุม : (ปุ.) โรคประจำเดือนของผู้หญิง, ประจำ เดือนของหญิง, ประจำเดือน (ระดูของ หญิง), ระดูของหญิง. อภิฯ เป็น นปุ กุสฺ อวฺหาเณ, อุโม.
  4. กณฺฑุ กณฺฑุติ กณฺฑู กณฺฑูยา : (อิต.) ความคัน, โรคคัน, ต่อมเล็ก ๆ, ฝี, ลำลาบเพลิง หิด, หิดด้าน, หิดเปลื่อย. กณฺฑฺ เภทเน, อุ. ศัพท์ที่ ๒ ลง อ ปัจ. ประจำธาตุ แล้วเอา อ ที่ ฑ เป็น อุ ติ ปัจ. ศัพท์ที่ ๓ ลง อุ ปัจ. แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๔ ลง อ ปัจ. ประจำ ธาตุแล้วลง ณฺย ปัจ. เอา อ ที่ ฑ เป็น อู. ส. กณฺฑุ กณฺฑู กณฺฑูยา.
  5. กิณ : (นปุ.) การซื้อ. กี ธาตุ ณา ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ อ ปัจ. นามกิตก์ รัสสะ อี เป็น อิ รูปฯ ๖๓๐.
  6. กิสลย : (นปุ.) ยอดอ่อน, ข้อ. วิ. กสติ วุทฺธึ ยาตีติ กิสลยํ. กสฺ คมเน. อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ อย ปัจ. ลฺ อาคมในท่ามกลาง แปลง อ ที ก เป็น อิ. อภิฯ ลง ย ปัจ.
  7. ปมชฺชน : (นปุ.) ความมัวเมา, ความประมาท. ปปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท. ย ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  8. ทปฺปณ ทปฺปน : (นปุ.) แว่น, กระจก, วิ. ทิปฺปติ เอตฺถาติ ทปฺปโณ ทปฺปโน วา. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น ทิปฺย แปลง ปฺย เป็น ปฺป ยุ เป็น อน ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
  9. นจฺจาปน : (วิ.) ให้ฟ้อนอยู่. นตฺ ธาตุ ย ปัจ. ประจำธาตุ ณาเป ปัจ. เหตุ. ยุ ปัจ. แปลง ตฺย เป็น จฺจ ลบ ณฺ และ เอ แปลง ยุ เป็น อน.
  10. กุชฺฌน : (นปุ.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  11. กุชฺฌนา : (อิต.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  12. กุลุปก กุลุปค กุลูปค : (วิ.) ผู้เข้าถึงตระกูล, ผู้ประจำตระกูล. วิ. กุลํ อุปคจฺฉตีติ กุลุปโค. กุล+อุป+คมฺธาตุ กฺวิ ปัจ. ที่เป็น กุลปก เพราะแปลง ค เป็น ก กัจฯ ๒๙ รูปฯ ๔๒.
  13. โคฏวิส : (ปุ.) สมอ ชื่อของของหนักที่ใช้เชือก หรือโซ่ผูกไว้ สำหรับใช้ทอดลงไปในน้ำ เพื่อให้เกาะดิน มีให้เรือลอยไปที่อื่น วิ. คมิจฺฉิตทิสํ อฏติ เยน โส โคฏวิโส. คมิจฺฉิตทิสปุพฺโพ, อฏฺ คติยํ, อิโส.ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น อฏ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อว ลบบทหน้าเหลือ ค แปลง อ ที่ ค เป็น โอ รวมเป็น โคฏว+อิส ปัจ.
  14. ฆคฺฆร : (ปุ.?) ซอกเขา, นกแสก, ประตู แม่น้ำ, เสียงสำรวล (หัวเราะ) ฆํสฺ ฆสนอทเนสุ, โร. ลง อ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ส เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ฆ แปลง นิคคหิต เป็น ค.
  15. จนฺทนิกา : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่ออันเต็มด้วยน้ำไม่ สะอาดใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำ ครำ. วิ. จิตฺตํ ทุโนตีติ จนฺทนิกา จิตฺตปุพฺโพ ทุ หึสายํ. ลง ณุ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ณุ เป็น นุ อ ปัจ. นามกิตก์ อิ อาคม ก สกัด ลบ ตฺต แปลง อิ ที่ จิ เป็น อ อาอิต.
  16. จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
  17. ฉิชฺชน : (วิ.) ขาด, ทะลุ, แตก, สลาย, เสียหาย, ผิด. ฉิทฺ ธาตุ ในความตัด, ฯลฯ. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  18. ชานิ : (อิต.) ความเสื่อม, ความเสื่อมสิ้น, ความย่อยยับ ชิ ธาตุในความเสื่อม นา ปัจ. ประจำหมวดธาตุ อิ ปัจ. แปลง อิ ที่ ชิ เป็น อ ทีฆะ เป็น อา หรือ ลง นิ ปัจ. ไม่ต้องลง นาและ อิปัจ. อภิฯ ตั้ง หา จาเค, นิ. แปลง หา เป็น ชา. รูปฯ ๕๘๔ ตั้งหาธาตุ ติ ปัจ. แปลง ติ เป็น นิ.
  19. ตสฺสน : (นปุ.) ความกระหาย, ความระหาย, ความกระหายน้ำ. ความอยากเพื่ออันดื่ม, ความอยากเพื่อจะดื่ม, ความอยากจะดื่ม. ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน.
  20. ตุณฺณวาย ตุนฺนวาย : (ปุ.) ช่างเย็บ, ช่างชุน. วิ. ตุนฺนํ อวายิ วายติ วายิสฺสตีติ ตุนฺนวาโย. ตุนฺนปุพฺโพ, วา คนฺธเน ( ตัด แทง) , อ. แปลง อา ที่ธาตุเป็น อาย หรือ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ก็ไม่ต้องแปลง อา หรือ ตั้ง เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย ศัพท์ต้น แปลง นฺน เป็น ณฺณ.
  21. ทมิฬ : (วิ.) ดุ, ร้าย, ดุร้าย. ทุ หึสายํ, อิโล. ลง นา ปัจ. ประจำหมวดธาตุแปลง นา เป็น มา อุ เป็น อ ล เป็น ฬ.
  22. นจฺจน : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อนรำ. นตฺ คตฺตวิมาเน, ยุ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน.
  23. นฏน นฏฺฏ นตฺตน : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ. ศัพท์ที่ ๑, ๒ นฎ นตฺยํ. ศะพท์ตัน ยุ ปัจ. ศัพท์ที่ ๒ อ ปัจ. และแปลง ฏ เป็น ฏฺฏ ศัพท์ที่ ๓ นตฺ คตฺตวิมาเน. ลง ย ปัจ. ประจำธาตุ และ ยุ ปัจ. นามกิตก์ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน. ส. นรฺตน, นฤดี.
  24. นิตฺถุนน : (นปุ.) การทอดถอน, การถอนใจ. นิบทหน้า ถุธาตุ นาปัจ. ประจำหมวดธาตุ รัสสะ อา เป็น อ ยุ ปัจ.
  25. นิปชฺชน : (นปุ.) การถึง, การนอน, นิปุพโพ, ปทฺ คติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  26. นิพฺพิชฺฌน : (นปุ.) การเจาะออก, ความเจาะ ออก, ความตรัสรู้, ความบรรลุ. นิปุพฺโพ, วิธ. วิชฺฌเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  27. ปยุชฺฌน : (นปุ.) การต่อสู้, การรบ, การต่อสู้ กัน, การรบกัน. ปปุพฺโพ, ยุชฺ สมฺปหาเร, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ชฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  28. ปรม : (วิ.) ยอด, ยอดเยี่ยม, ยอดยิ่ง, อย่างยิ่ง, อย่างเยี่ยม, อย่างยอด, เป็นยอด, สูงสุด, ที่สุด, สนิท, เต็มเปี่ยม, อุดม, บรม. วิ. นตฺถิ อญฺญ ปรํ เอตสฺมาติ ปรมํ. ม ปัจ. แทน นตฺถิ. ปรํ ปจฺจนีกํ มาเรตีติ ปรมํ. ปกฏฺฐภาเว รมตีติ วา ปรมํ. อถวา, ปรติ อตฺตโน อุตฺตมภาวํ ปาเลติ ปูเรติ วาติ ปรมํ. ปรฺปาลเน, โม. ลง อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ แล้ว ลง ม ปัจ.
  29. ปริตสฺสนา : (อิต.) ความอยากจัด, ความทะยานอยาก. ปริปุพฺโพ, ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน อาอิต. เป็น นปุ บ้าง.
  30. ผิย : (ปุ.) พาย, แจว, กรรเชียง. วิ. ผิยติ นาวา เอเตนาติ ผิโย. ผิ คมเน. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ อ ปัจ. นามกิตก์. หรือตั้ง ผา วุฑฺฒิยํ, อิโย. แปลง ผิ เป็น ปิ เป็น ปิย บ้าง.
  31. พุชฺฌน : (นปุ.) ความรู้, ความรู้ตลอด, ความเข้าใจ. พุธฺ โพธเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  32. โพชฺฌ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นเครื่องบรรลุ. พุธฺ โพธเน, โณ, ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ พฤทธิ อุ เป็น โอ ด้วยอำนาจ ณ ปัจ.
  33. ภิชฺชน : (นปุ.) อันแตก, อันทำลาย, อันสลาย, การแตก, ฯลฯ. ภิทิ เภทเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหวดธาตุ ลบ อิ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  34. มชฺชน : (นปุ.) ความเมา, ฯลฯ. วิ. มทนํ มชฺชนํ. มทฺ อุมฺมาเท, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  35. มญฺญนา : (อิต.) กิริยาที่ถือตัว, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความถือตัว. มนฺ ญาเณ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง นฺย เป็น ญฺญ ยุ เป็น อน. แปลว่า ความสำคัญความเข้าใจ ด้วย.
  36. มิชฺชน : (นปุ.) ความเจือ, ความเยื่อใย, ความเอ็นดู, ความรัก, ความสนิท. มิทฺ สิเนหเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  37. ยุชฺฌน : (นปุ.) อันรบ, การรบ, การรบกัน, การต่อสู้กัน. ยุธฺ สมปหาเร, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  38. สชฺฌน : (นปุ.) ความสะอาด, ความหมดจด, ความบริสุทธิ์, ความผุดผ่อง. สุธฺ โสเจยฺเย, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  39. สมฺพุชฺฌน : (นปุ.) ความรู้พร้อม, ความรู้ด้วยดี, ความบรรลุ, ความตรัสรู้. สํปุพฺโพ, พุธ อวคมเน. ยุ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ขฺฌ ยุ เป็น อน.
  40. สมฺมุสฺสนตา : (อิต.) ความเผลอเลอ, ความเลินเล่อ, ความหลงลืม, สํปุพฺโพ, มุสฺ สมฺโมเส, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน ตา ปัจ. สกัด.
  41. สมาปชฺชนา : (อิต.) การเข้า. สํ อาปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  42. สมิชฺณน : (นปุ.) ความรุ่งเรือง, ความเจริญรุ่งเรือง, ความสำเร็จ. สํปุพฺโพ, อิธฺ วุฑฒิยํ, ยุ. ลง ย ปัจ ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  43. สลฺลหุก : (วิ.) เบา, เบาพร้อม (คือ เบากาย เบาจิต), กระปี้กระเปร่า. สํปุพฺโพ, สํฆฺ คติโสสเนสุ, โก. ลง อปัจ. ประจำหมวดธาตุ ลบนิคคหิตที่ธาตุ แปลง ฆ เป็น ห แปลง อ ที่ ห เป็น อุ แปลงนิคคหิตที่บทหน้าเป็น ล.
  44. สสฺสต : (วิ.) เที่ยง, เที่ยงแท้, แน่นอน, มั่นคง, ยั่งยืน, คงที่, เป็นไปติดต่อ, เป็นอยู่ติดต่อ, เป็นไปทุกเมื่อ, เป็นไปเป็นนิตย์. สสฺสฺ สาตจฺเจ. อปัจ. ประจำหมวดธาตุ ต ปัจ. หรือตั้ง สทา+สรฺ ธาตุในความเป็นไป ต ปัจ. แปลง สทา เป็น ส ลบที่สุดธาตุซ้อน สฺ.
  45. สาทิส สาทิกฺข สาริกฺข สาริส สาที : (วิ.) เหมือน, เหมือนกัน, คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน. วิ. สมานํ กตฺวา นํ ปสฺสติ สมาโน วิย ทิสสตีติ สาทิโส สาทิกฺโข วา สริกฺดข วา สาริโส วา สาที วา. สมานปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. แปลง สมาน เป็น ส ทีฆะ อ ที่ ส เป็น อา ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แล้วแปลงที่สุดธาตุเป็น กฺข อี แปลง ทฺ อักษรต้นธาตุเป็น รฺ บ้าง.
  46. สายน : (นปุ.) ความยินดี, ความเพลิน, การลิ้ม, การจิบ. สา อสฺสาทเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ. แปลง ยุ เป็น อน.
  47. สิกตา : (อิต.) ทราย. สิจฺ ฆรเณ, โต. อ. ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง จ เป็น ก อา อิต.
  48. สิพฺพก : (ปุ.) ช่างเย็บ. สิวฺ ตนฺตุสนฺตาเน, ณฺวุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง วฺย เป็น พฺพฺ.
  49. สุสฺสน : (นปุ.) ความเหี่ยว, ความแห้ง, ความผาก. สุสฺโสสเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เปน อน.
  50. หานิ : (อิต.) ความเสื่อม, ฯลฯ, ความทรุดโทรม, ความฉิบหาย. หา ปริหานิเย, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ยุ เป็น อน.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4363

(0.2720 sec)