Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เลื่อนขั้น, เลื่อน, ขั้น , then ขน, ขั้น, ลอน, ลอนขน, เลื่อน, เลื่อนขั้น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เลื่อนขั้น, 165 found, display 1-50
  1. อวาคต : ค. เคลื่อน, เลื่อน, ตก
  2. กเลวร กเลวฬ กเลพร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ซากศพ, ซากผี, ขั้น วิ. กเล วรตีติ กเลวรํ. กลปุพฺโพ, วรฺ สํวรเณ, อ. ไม่ลบ วิภัตติ บทหน้า. ส. กลเวร.
  3. อน : (นปุ.) เกวียน, เลื่อน.อนุปาณเน, อ. อถวา, นตฺถินาสายสฺสาติอนํ.น+นาสาลบสารัสสะอาที่นาเป็นอแปลงนอุปสรรคเป็นอ.
  4. กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
  5. กาลจีวร : (นปุ.) ผ้าเกิดในกาล, กาลจีวร คือ ผ้าที่เกิดขึ้นแก่ภิกษุ ในกาลที่ทรงอนุญาต ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลาง เดือน ๑๒ ถ้าได้กรานกฐินเลื่อนไปถึง กลางเดือน ๔.
  6. คลติ : ก. หยาด, หยด, ฝนตก, ไหล, เลื่อนไป, พลัด, หล่น, กลืนกิน
  7. จตุปริวฏฏ : อ. โดยเวียนรอบสี่, (รู้เบญจขันธ์ตามความเป็นจริง) เป็นสี่ขั้น
  8. จาเวติ : ก. ทำให้เลื่อน, ทำให้พ้น, ทำให้หลุดไป, พราก, ไล่
  9. จีวรกาล : (ปุ.) คราวเป็นที่ถวายซึ่งจีวร, กาล เป็นที่ถวายจีวรของทายกทายิกา, คราว ที่เป็นฤดูถวายจีวร, จีวรกาล.จีวรกาล(ระยะ เวลาถวายผ้า) มีกำหนดตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าภิกษุได้ กรานกฐิน ก็เลื่อนไปถึงกลางเดือน ๔ และ เป็นเวลาที่ภิกษุเปลี่ยนไตรจีวรด้วย.
  10. ฐาปน : (นปุ.) การแต่งตั้ง, สถาปนา ( การยกย่องโดยแต่งตั้งให้สูงขึ้นเลื่อนให้สูง ขึ้น ). ส. สฺถาปน.
  11. เตภูมิก : ค. อันมีภูมิสาม, อันเป็นไปในภูมิสาม, มีสามขั้น
  12. เถรภูมิ : (อิต.) ชั้นแห่งพระเถระ, ขั้นแห่ง พระเถระ, ชั้นมั่น, ฐานะมั่น, เถรภูมิ ชื่อ ชั้นหรือฐานะของท่านผู้สอบความรู้ใน พระพุทธศาสนา ได้นักธรรมชั้นเอก หรือ หมายถึงพระผู้ใหญ่มีพรรษาครบ ๑๐ แล้ว.
  13. ทฺวิคุณ : (วิ.) มีขั้นสอง, มีสองชั้น, สองหน, สองเท่า.
  14. ปนฺนภูมิ : อิต. ระดับแห่งความเจริญของคนที่ถึงขั้นหมดความห่วงใย, เป็นปุริสภูมิที่ ๘ ในลัทธิมักขลิโคสาล
  15. ปรายณ, - ยน : นป. ที่พึ่ง, ที่พำนัก, ที่พักพิง, เครื่องแบ่งเบา, จุดหมายขั้นสุดท้าย, จุดจบ; ในคำสมาสแปลว่า....เป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มี....เป็นที่สุด, ตรงต่อ..., เที่ยงต่อ...
  16. พฺรหฺมชาติ : (อิต.) พรหมชาติ ชื่อตำราหมอดูอย่างหนึ่ง มีกฏเกณฑ์การทำนายโดยเลข ๗ ตัว เป็นหลักใหญ่ ยังไม่ถึงขั้นโหราศาสตร์.
  17. พาเหติ : ก. นำไป, ให้เลื่อนไป
  18. พุทฺธภูมิ : อิต. พุทธภูมิ, ขั้นแห่งความเป็นพระพุทธเจ้า
  19. มาฆบูชา : (อิต.) การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๓, การบูชาด้วยปรารภเหตุสำคัญของพุทธศาสนาซึ่งเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ถ้าปีใดมีอธิกมาสจะเลื่อนไปทำการบูชาเพ็ญกลางเดือน ๔ วันมาฆบูชามีความสำคัญ ดังนี้ – ๑.  เพราะตรงกับวันจาตุรงคสันนิบาต (ดูคำจตุรงฺคสนฺนิปาต ด้วย). พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ภายหลังจากตรัสรู้ได้ ๙ เดือน และ ๒. เพราะตรงกับวันปลงพระชนมายุสังขารในพรรรษาสุดท้าย ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ๓ เดือน.วันมาฆบูชา เป็นวันพระสงฆ์.
  20. วยฺห : นป. ยวดยาน, ล้อเลื่อน, เตียงแคร่
  21. โสปานปนฺติ : อิต. ขั้นบันได
  22. อธิจิตฺต : (นปุ.) ธรรมชาติอันอาศัยซึ่งจิตเป็นไป(จิตฺตสฺส อธิกจฺจ ปวตฺตนํ), จิตยิ่ง, อธิกจิตหมายถึงจิตที่ได้สมาธิถึงขั้นฌาน.วิ.อธิกํจิตฺตํอธิจิตตํ.
  23. อริยปุคฺคล : (ปุ.) บุคคลผู้เจริญ, บุคคลผู้ประเสริฐ, พระอริยบุคคล, ทางพระพุทธศาสนาเรียกบุคคลที่ละกิเลสได้เด็ดขาด (สมุจเฉทป-หาน)ไม่กำเริบอีกเป็นขั้น ๆว่าพระอริย-บุคคล ๆ มี ๔ ชั้นตามที่ละกิเลสได้คือพระโสดาบันพระสกทาคามีพระอนาคามีและพระอรหันต์เป็นชั้นสูงสุดทางพระ-พุทธศาสนา ไม่มีพระอริยบุคคลชั่วขณะหรือชั่วคราวหรือพระอริยบุคคลแต่งตั้งหรือนิพพานชั่วขณะ.
  24. อสงฺเขยฺย : (นปุ.) อสงไชยชื่อมาตรานับขั้นสูงสุด. วิ.อสฺขฺยาตุอสกฺกุเณยฺยตายอสงฺเขยฺยํ(วัตถุอันบุคคลไม่พึงนับ นับไม่ได้).นสํปุพฺโพ, ขฺยาปกถเน, โณฺย.เอาอาเป็นเอ.อภิฯตั้งขาธาตุเณยฺยปัจ.ส.อสํขย.
  25. อุตฺตริมนุสฺสธมฺม : (ปุ.) ธรรมของมนุษย์ ผู้ยิ่ง, ฯลฯ, ธรรมอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, คุณอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, อุตตริมนุสธัม. อุตตริมนุษยธรรม คือคุณธรรม (ความดี ผล) อันเกิดจากการปฏิบัติสมถะ (สมาธิ) ถึงขั้นจิตเป็นอัปปนา หรือจากการปฏิบัติ วิปัสสนาถึงขั้นละกิเลสเป็นสมุจเฉท มีคำ เรียกคุณธรรมนั้น ๆ อีกหลายคำ พระพุทธ เจ้าทรงห้ามภิกษุอวด ปรับอาบัติขั้นสูงถึง ปาราชิก วิ. อุตฺตริมนุสฺสานํ ญายินญฺเจว อริยานญฺจ ธมฺโม อุตฺตริ มนุสฺสธมฺโม.
  26. กูปขณ, - ขน : ป. คนขุดบ่อ, คนขุดหลุม
  27. อิกฺขณ, - ขน : นป. การเห็น, การแลดู
  28. ขนติ : ก. ดู ขณติ
  29. ปณฺณ, - ณก : นป. ใบไม้, ใบไม้สำหรับเขียนหนังสือ, จดหมาย, หนังสือ, ขน, ปีก
  30. อสุ : (ปุ. อิต.) สาย, ด้าย, ขน, ทาง, เส้น, แถว, ข้อ, ข้อเล็กน้อย, ปลายเส้นด้าย, รัศมี, แสง, แสงสว่าง.อมฺคมเน, อุ, สฺอาคโม. ลบ มฺ นิคคหิตอาคม หรือแปลงมฺ เป็น นิคคหิต.
  31. อาขอาขนอาขาน : (ปุ.?)จอบ, เสียม. อาปุพฺ-โพ, ขณุขนุวาอวทารเณ, กวิ, อ, โณ.ส.อาขนอาขาน.
  32. กงฺขน : นป. ความสงสัย,ความลังเลใจ
  33. เตลมกฺขน : นป. การทาด้วยน้ำมัน, การไล้ด้วยน้ำมัน
  34. นกฺขน : (ปุ.) การไป,การดำเนินไป,ความเป็นไป.นกฺขุคติยํ,อ.ความเกี่ยวเนื่อง,ความสัมพันธ์.นกฺขฺสมฺพนฺเธ,อ.
  35. นิกฺขณติ, นิขนติ : ก. ขุด, ฝัง, ตั้งลง
  36. ปริขนติ, (ปฬิขนติ) : ก. ขุด
  37. ปริรกฺขน : นป. การรักษา
  38. ภกฺขณ ภกฺขน : (วิ.) กิน, เคี้ยว, เคี้ยวกิน, กัดกิน, บริโภค.
  39. ภกฺขน : นป. การกิน
  40. ภิกฺขน : (นปุ.) อันขอ, การขอ. ภิกฺขฺ ยาจเน, ยุ.
  41. มกฺขน : (นปุ.) การทา, การทำให้เปื้อน, ยุ ปัจ.
  42. รกฺขณ รกฺขน : (นปุ.) การระวัง, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  43. รกฺขน : นป. การรักษา, การดูแล
  44. รกฺขนสทิส : (วิ.) เช่นกับด้วยบุคคลผู้รักษา, ฯลฯ.
  45. ลิกฺขน : นป. การเขียน, การจารึก, การสลัก
  46. สมฺมกฺขน : นป. การลูบไล้
  47. สิกฺขน : (นปุ.) การศึกษา, การเล่าเรียน, ยุ ปัจ.
  48. สุกฺขน : นป. ความแห้ง
  49. อชฺฌุเปกฺขน : นป. อชฺฌุเปกฺขนา อิต. อุเบกขา, ความวางเฉย, การเฝ้าดู
  50. อนุรกฺขน : นป. การเก็บรักษา, การป้องกัน, การคุ้มครอง
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-165

(0.0621 sec)