Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เวท , then เพท, วท, เวท, เวทะ, เวทา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เวท, 55 found, display 1-50
  1. เวท : ป. ความรู้
  2. เวทชฺฌ : นป. ท่ามกลาง
  3. เวทยิต : กิต. รู้สึกแล้ว, เสวยอารมณ์แล้ว
  4. ยชุพเพท ยชุเวท : (ปุ.) ยชุพเพท ยชุรเวท ชื่อคัมภีร์ไตรเพทของพราหมณ์ คัมภีร์ที่ ๒.
  5. นิคม : (ปุ.) ย่านการค้า, หนทางพ่อค้า, ตลาด, หมู่บ้าน, หมู่บ้านใหญ่, ตำบล, บาง, นคร, เวท, คำซ้ำ, คำกล่าวซ้ำ. ส. นิคม.
  6. กาล (ปฺ) ปเวท : นป. การบอกเวลา, การแพร่ข่าว, การตาย
  7. ชาตเวท : (ปุ.) ไฟมีเปลวอันเกิดแล้วอันบุคคล พึงรู้, ไฟเครื่องประสมซึ่งเปลว, ไฟ, เปลว ไฟ. วิ. ชาเต อุปฺปนฺเน วินฺทติฌาปยตีติ ชาตเวโท. อนฺธกาเร ชาตํ วิชฺชมานํ วินฺทติ ลภติ ชานาติ วา เอเตนาติ วา ชาตเวโท. ชนนํ ชาตํ เวโท ปากโฏ ยสฺส วา โส ชาตเวโท.
  8. ชาติเวท : ป. เปลวไฟ
  9. ทิฏฺฐธมฺมเวทนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอัน... พึง รู้ (เสวย) ในธรรมอัน...เห็นแล้ว, กรรมให้ผลในภพนี้, กรรมให้ผลในปัจจุบัน, กรรมให้ผลทันตาเห็น, กรรมให้ผลเห็น ทันตา.
  10. นิเวท : ค. ผู้ประกาศ, ผู้ให้ข่าว
  11. นิเวท : นป. การประกาศ, การให้ข่าว
  12. เวท : นป. การประกาศ, การบอก, การกล่าว, การแจ้งให้ทราบ
  13. สมฺปเวทติ : ก. หวั่นไหว
  14. อปราปรเวทนียกมฺม : (นปุ.) กรรมให้ผลในภพสืบ ๆคือให้ผลในภพต่อไปจากชาติหน้า.
  15. อายุเวท : ป. อายุรเวท, วิชาเกี่ยวกับการรักษาโรค
  16. อุปปชฺชเวทนียกมฺม : นป. กรรมที่ให้ผลในชาติหน้า
  17. สุติ : (อิต.) เวท (ถ้อยคำศักดิ์สิทธิ์ที่ผูกขึ้นเป็นมนตร์ หรือความรู้ทางศาสนา). วิ. สฺยฺยเต ธมฺมํ เอตายาติ สุติ. สุ สวเน, ติ.
  18. ตยี : (อิต.) เวทสาม วิ. ตโย อวยวา อสฺสาติ ตยี. ตโย เวทา ตยี นาม. เป็น ตยิ ก็มี.
  19. ยชุ, ยชุรเพท : นป. ยชุรเวท
  20. กุณฺฑล : (นปุ.) ตุ้มหู วิ. ฆํสเนน กุณฺฑติ กุณฺฑลํ. กุณฑฺ ฑาเห, อโล. กุฑิ เวทเน วา.
  21. ขตฺตวิชฺชา : อิต., ขตฺตเวท ป. นโยบายการปกครอง, วิชาการปกครอง
  22. ชาติรส : (ปุ.) ไฟ, เปลวไฟ. ดู ชาตเวท ด้วย
  23. โชติสตฺถ : (นปุ.) ตำราดาว, โชติศาสตร์ ชื่อ วิธีเรียนเวทอย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง ให้รู้จัก ดาว หาฤกษ์ และผูกดวงชตา.
  24. ททฺทุ : (อิต.? ) หิด, หิดเปื่อย. วิ. ทุกฺเวทนํ ททาตีติ ททฺทุ. ททฺ ทาเน, ทุ. แปลว่า หิตด้าน ก็มี. รูปฯ ๖๖๑.
  25. มนฺตปารคู : (วิ.) ผู้ถึงซึ่งฝั่งแห่งมนต์, ผู้เรียนจบมนต์, ผู้ถึงซึ่งฝั่งแห่งเวท, ผู้เรียนจบเวท.
  26. มโนปุพฺพงฺคม : (วิ.) มีใจเป็นสภาพถึงก่อน, มีใจเป็นธรรมถึงก่อน, มีใจเป็นหัวหน้า, มีใจเป็นประธาน. วิ. อุปฺปาทปฺปจฺจยตฺเถนมโน ปุพฺพงฺคโม เอเตสนฺติ มโนปุพฺพงฺคมา (ธมฺมา). คำว่า ธรรม ท. ได้แก่ เวทนขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์.
  27. มุร : (ปุ.) นกยูง. มุรฺ สํเวทเน, อ.
  28. โมร : (ปุ.) นกยูง. มุรฺ สํเวทเน, โณ. แปลง อุ เป็น โอ. มิ หึสายํ วา, อโร. แปลง อิ เป็น โอ หรือ ลง โอร ปัจ. มา รวเน วา, โอโร. มหิยํ รวตีติ วา โมโร. มหิปุพฺโพ, รุ สทฺเท, อ, หิโลโป. แปลง อ ที่ ม เป็น โอ.
  29. เวทคู : ป. ผู้ถึงเวท, ผู้บรรลุความรู้
  30. อวิจิอวีจิ : (ปุ. อิต.) อเวจีชื่อนรกขุมใหญ่ขุมที่๘.วิ.อคฺคิชาเลหิจทุกฺเขหิจสตฺเตหิจนฺตถิเอตฺถวีจิอนฺตรนฺติอวีจิ(ไม่ว่างเว้นจากเปลวไฟทุกข์และสัตว์คือมีเปลวไฟทุกข์และสัตว์ลอดกาล).นตฺถิวีจิเอตฺถาติวาอวีจิ.อคฺคิชาลานิวาทุกฺขเวทนานํวาสตฺตานํวานตฺถิวีจิอนฺตรเมตฺถาติวาอวีจิ.
  31. อาคม : (ปุ.) การมา, การมาถึง, นิกายเป็นที่มา, นิกายเป็นที่มาแห่งมรรคและผล, บาลี, พระบาลี, อาคม (การมาของอักษรคือการลงอักษรเป็นวิธีของบาลีไวยากรณ์อย่างหนึ่งศาสตร์ คัมภีร์มนต์ เวทมนต์).วิ.อาคมนํอาคโม.ส.อาคม.
  32. อาถพฺพณ : (นปุ.) อาถัพพณะชื่อคัมภีร์พระเวทคัมภึร์ที่๔ของพราหมณ์(ฮินดู).เวสฯ ๒๔๒ เป็นอาถพฺพน.ส.อาถรฺวณ.
  33. อาถพฺพณิก : ป., ค. หมอยาทางไสยศาสตร์, ผู้ชำนาญเวทมนต์คาถา
  34. อุเปกฺขา : (อิต.) ความเพ่ง, ความเล็ง, ความหวัง, ความวางเฉย, ความวางใจเป็นกลาง, ความมีใจเฉยอยู่, ความเที่ยงธรรม (มีใจ มั่นอยู่ในกัมมัสสกตาญาณ.) วิ. ทฺวินฺนํ เวทนานํ สมีเป ปวตฺตา อิกฺขา อนุภวนฺนตีติ อุเปกฺขา. อุปตฺติโต อกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุเปกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุปปุพฺโพ, อิกฺขฺ ทสฺสนงฺเกสุ, อ. เป็น อุเปขา โดยลบ กฺ ก็มี. ส. อุเปกฺษา.
  35. วทติ : ก. กล่าว
  36. อิรุพฺเพท : (ปุ.) อิรุพเพท ชื่อคัมภีร์ไตรเพทที่ ๑ ใน ๓ ของพราหมณ์ (ฮินดู). ส. ฤคเรท.
  37. จาตุพฺเพท : ป. พระเวทสี่ (ใช้เฉพาะในรูปพหุวจนะ = จาตุพฺเพทา)
  38. ปฏิวทติ : ก. กล่าวตอบ, ตอบค้าน
  39. วิทู : ค. ผู้รู้
  40. เวท : อิต. ความรู้
  41. เวท : อิต. ผู้รู้; นักปราชญ์; ชานชาลา, แท่นบูชา
  42. อนุวทติ : ก. กล่าวตำหนิ, โทษ
  43. อภิวทติ : ก. กล่าว, ประกาศ, กล่าวต้อนรับ, กล่าวแสดงความยินดี
  44. อุปวทติ : ก. เข้าไปว่าร้าย, ใส่โทษ, ติเตียน
  45. กาฬ : (ปุ.) ดำ (สี...), เขียวคราม (สี...), สีดำ, สีเขียวคราม. วิ. วณฺเณสุ เอกโกฏฺฐ าสภา เวน กลฺยเตติ กาโล. โส เอว กาโฬ. กลฺ สํขฺยาเณ, อโล. กาติ ผรุสํ วทตีติ วา กาโฬ. กา สทฺเท, โฬ.
  46. กุรุ : (ปุ.) กุรุ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒o ของอินเดีย โบราณ วิ. ธมฺมตา สิทฺธสฺส ปญฺจสีลสฺส อานุภาเวน กํ สุขํ อุรุ มหนฺตา เอตฺถาติ กุรุ. กํ ปาปํ รุนฺธติ เอตฺถาติ วา กุรุ. กุปุพฺโพ, รุธิ อาวรเณ, กฺวิ. กุรติ กิจฺจากิจฺจํ วทตีติ วา กุรุ. กุรฺ สทฺเท. อุ. เป็น กุรู ด้วยรุฬ- หิเภทบ้าง.
  47. โควินฺท : (ปุ.) สัตว์ผู้เป็นหัวหน้าของโค,พญาโค. วิ. ควํ คุณฺณํ อินฺโท โควินฺโท. โค+อินฺท วฺ อาคม. เจ้าของโค วิ. ควํ อินฺโท อธิกโต ชโน โควินฺโท. ควํ วินฺทตีติ วา โควินฺโท. โคปุพฺโพ, วิทฺ ลาเภ, อ. และยังแปลว่า เจ้าของวัวควาย, หัวหน้าคนเลี้ยงสัตว์, นาย โคบาล, พระกฤษณะ, พระพฤหัสบดี อีกด้วย.
  48. นิพฺพิณฺณ : (ปุ.) ความเบื่อ, ความหน่าย, ความเบื่อหน่าย, ความเบื่อหน่ายในวัฏฏะ, ความจืดจาง. นิปุพฺโพ, วิทฺ ติฏฐยํ, โต.
  49. นิพฺพินฺท : (วิ.) เบื่อ, หน่าย, เบื่อหน่าย, จืด จาง. นิปุพฺโพ, วิทฺ ตุฏฐยํ, อ. นิคฺคหิตาคโม.
  50. โภวาที : (ปุ.) ชนผู้กล่าวว่าพ่อผู้เจริญโดยปกติ, พราหมณ์. วิ. สุภาสุภกถนตฺถํ โภ โภติ วจนํ วทติ สีเลาติ โภวาที. ณี ปัจ.
  51. [1-50] | 51-55

(0.0606 sec)