Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เว้นระยะ, เว้น, ระยะ , then รย, ระย, ระยะ, วน, เว้น, เว้นระยะ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เว้นระยะ, 218 found, display 1-50
  1. ฐเปติ : ก. วาง, ตั้งไว้, หยุด, เว้น, กำหนดตั้ง, แต่งตั้ง, บรรจุ
  2. ปชหติ : ก. ละ, สละ, เว้น
  3. อภินิวชฺเชติ : ก. กำจัด, เว้น, หลีกเลี่ยง
  4. อีหามิค : (ปุ.) หมาป่า. ส. อีหามฤค. อุ (อัพ. อุปสรรค) ขึ้น, แยก, ออก, เว้น, ไม่, กำลัง, กล่าว, ประกาศ, อาจ, เลิศ. ลงใน อรรถแห่ง น บ้าง อุ. อุรพฺภ.
  5. อุปรม : (วิ.) งด, เว้น, ยินดี.
  6. รย : ป. รีบเร่ง, ด่วน
  7. วน : นป. ป่า
  8. จีวรกาล : (ปุ.) คราวเป็นที่ถวายซึ่งจีวร, กาล เป็นที่ถวายจีวรของทายกทายิกา, คราว ที่เป็นฤดูถวายจีวร, จีวรกาล.จีวรกาล(ระยะ เวลาถวายผ้า) มีกำหนดตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าภิกษุได้ กรานกฐิน ก็เลื่อนไปถึงกลางเดือน ๔ และ เป็นเวลาที่ภิกษุเปลี่ยนไตรจีวรด้วย.
  9. ปพฺภารทสก : นป. ระยะ ๑๐ ปี ที่มีกายเงื้อมไปข้างหน้า, วัยของคนอายุระหว่าง ๖๐ ถึง ๗๐ ปี
  10. ปริ : (อัพ. อุปสรรค) รอบ, โดยรอบ, ทั่วไป, กำหนด. ขาด, บ่อยๆ, อ้อม, เว้น อุ. ปริ ปพฺพตา เทโว วสฺสติ. ออก อุ. ปริ สาลาย อายนฺติ วาณิชา. เฉพาะ อุ. รุกฺขํ ปริ วิโชตติ จนฺโท.
  11. วินา : อ. เว้น
  12. อญฺญตฺร : ก.วิ. ๑. ที่ใดที่หนึ่ง ; ๒. เว้น
  13. อุปริ : (อัพ. นิบาต) บน, ข้างบน, เบื้องบน, ด้าน, ด้านเหนือ, ล่วงไป, ในเบื้องบน, ณ เบื้องบน, ในเบื้องหน้า, ณ เบื้องหน้า. สตฺตมิยตฺเถ นิปาโต. เว้น อุ. อุปริ ปพฺพตา เทโว วสฺสติ. ฝนเว้นซึ่งภูเขาย่อมตก. รูปฯ ๒๙๘. ส. อุปริ.
  14. กนฺตารทฺธาน : นป. ระยะทางไกลอันข้ามได้ยาก, ทางกันดาร
  15. กฬิมฺพก : นป. เครื่องหมายที่ให้รู้ระยะน้อยใหญ่ยาวสั้นของผ้ากฐิน
  16. กายทณฺฑาทิวิรหิต : (วิ.) ผู้เว้นแล้วจากอาชญา มีอาชญาทางกายเป็นต้น.
  17. กิเลสาทิมลวิรหิต : (วิ.) ผู้เว้นแล้วจากมลทิน มีกิเลสเป็นต้น.
  18. คาวุต : (นปุ.) คาวุต ชื่อมาตราวัดระยะ เท่ากับ ๘๐ อุสภะ หรือ ๑๐๐ เส้น. วิ. ควํ คเวหิ วา ยุตํ คาวุตํ. แปลง ย เป็น ว
  19. จิรนฺตน : (วิ.) ชั่วก่อน (ระยะก่อน), ชั่วเพรง (เพรง คือ ก่อนเก่า), ก่อน, มีในก่อน. วิ. จิรํ ภโว จิรนฺตโน. จิรํ+ตน ปัจ. แปลง นิคคหิตเป็น น. ฎีกาอภิฯ ว่า ลบนิคคหิต ถ้าถือตามมติฎีกาฯ ก็ต้องลง นฺ สังโยค หรือ นฺ อาคมหน้าปัจ.
  20. จีวรการสมย : ป. สมัยเป็นที่กระทำซึ่งจีวร, ระยะกาล (ที่ทรงอนุญาตไว้) เพื่อการทำจีวร, คราวที่พระทำจีวร
  21. ตีห : ก. วิ. สิ้นสามวัน, ตลอดสามวัน, เป็นระยะเวลาสามวัน
  22. ทสา : (อิต.) ชายผ้า, ชายครุย, ความเป็นอยู่, ความกำหนด, ระยะกาลของชีวิต. ทา เฉทเน, โส, รสฺโส, อิตฺถิยํ อา. ฉา เฉทเนวา, ฉสฺส โท. ส. ทศา.
  23. ทุพฺภิกฺขนฺตรกปฺป : (ปุ.) กัปของระหว่างมี ภิษาอัน...ได้โดยยาก. ทุพภิกขันตรกัป คือระยะเวลาที่กำหนดไว้ว่าเป็นตอนที่ ขาดแคลนอาหาร.
  24. ธูมกาลิก : ค. ชั่วระยะเวลาแห่งควัน, ชั่วระยะเวลาเผาศพ
  25. นานา : (อัพ. นิบาต) เว้น, เว้นแต่, เว้นเสีย, นอกจาก, ต่างๆ, มาก. ส. นานา.
  26. นิรนฺตร : (วิ.) มีระหว่างออกแล้ว, หาระหว่าง มิได้, ไม่มีระหว่าง, ไม่ขาด, ไม่ขาดสาย, ไม่เว้นว่าง, ติดต่อกัน, ติดต่อกันไป, ติดต่อกันตลอดไป, เสมอ, หนา, ชิด, หยาบ. ส. นิรนฺตร.
  27. ปชหิต : กิต. ละแล้ว, เว้นแล้ว
  28. ปฏิวิรต : ค. ผู้งดเว้นแล้ว, ผู้เว้นขาดแล้ว
  29. ปฏิวิรติ : อิต. การงดเว้น, การเว้นขาด
  30. ปฏิวิรมติ : ก. งดเว้น, เว้นขาด
  31. ปทวาร : (ปุ.) วาระแห่งเท้า, ระยะแห่งเท้า, ระยะก้าวเท้า, ชั่วก้าวเท้า ( ก้าวย่าง ).
  32. ปเทส : (ปุ.) การเหยียดนิ้วหัวแม่มือและ นิ้วกลางออกให้ตรง, คืบ ชื่อมาตราวัด ระยะแบบโบราณ ๑๒ นิ้ว เป็น ๑ คืบ. ปปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, โณ.
  33. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  34. ปพฺพชติ : ก. ออกไป, ออกบวช, เว้นทั่ว (จากชีวิตการครองเรือน), บวช
  35. ปพฺพชน : (นปุ.) การออก, การออกไป, การบวช, การเว้น. ปปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, ยุ. การค้นหา, การแสวงหา. วชฺ มคฺคเน.
  36. ปรปุฏฺ : (ปุ.) นกกระเหว่า ชื่อนกผู้อันนกกา ฟักจนคลอดจากไข่เลี้ยงไว้ ( ระยะที่ยังบิน ออกไปไม่ได้ ). วิ. ปเรน วิชาติเยนกาเกน โปสิโตติ ปรปุฏฺโฐ. ปรปุพฺโพ, ปุสฺโปสเน, โต. แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบที่สุดธาตุ.
  37. ปริวชฺชน : นป. การเว้น
  38. ปริวชฺเชติ : ก. เว้น, ละ
  39. ปุถุ : ๑. อ. นอกจาก, แต่, ต่างหาก, เว้นเสีย, คนละแผนก, ต่างๆ , กว้างขวาง; ๒. ค. หนา, ใหญ่, มาก, กว้าง, อ้วน
  40. พฺรหฺมจริย : (นปุ.) ความประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ, ความประพฤติประเสริฐ, ความประพฤติเพียงดังพรหม, ความประพฤติเหมือนพรหม, ความหนักแน่น, ความตั้ง ใจมั่น, ทาน, อัปปมัญญา, สาสนะ, พรหมจรรย์ (การถือบวช การถือพรตเว้นเมถุนธรรม). ความสิ้นราคะ โทสะและโมหะ เป็นที่สุดของพรหมจรรย์ ไตร. ๑๙/๓๐/๙.
  41. พุทฺธนฺตร : (นปุ.) ระหว่างแห่งพระพุทธเจ้า, ระยะแห่งพระพุทธเจ้า, พุทธันดร คือ ระยะเวลาระหว่างพระพุทธเจ้า, พุทธันดร คือ ระยะเวลาระหว่างพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่งกับพระพุทธเจ้าอีกพระ องค์หนึ่ง.
  42. ภิกฺขุ : (ปุ.) ภิกษุ ชื่อของคนวรรณพราหมณ์ระยะที่ ๔ ของชีวิต ยังชีพโดยภิกขาจาร.
  43. มชฺฌิมโพธิ : (อิต.) เวลาเป็นที่ตรัสรู้มีในท่ามกลาง, มัชฌิมโพธิ คือช่วงระยะเวลาตอนกลาง.
  44. มหาวิโลกน : (นปุ.) การเลือกเหตุสำคัญ, การตรวจดูเหตุใหญ่, การพิจารณาดูสิ่งใหญ่, มหาวิโลกนะ. มหาวิโลกนะ มี ๕ คือ ๑.กาล จะต้องเป็นช่วงระยะเวลาที่มนุษย์มีอายุขัย ๑๐๐ ปี ๒. ทวีป ต้องเป็นชมพูทวีป ๓. ประเทศต้องเป็นมัชฌิมประเทศ ๔. ตระกูลต้องเป็นกษัตริย์ และ ๕. มารดาต้องเป็นหญิงมีเบญจศีล. พระโพธิสัตว์จึงจะมาอุบัติเพื่อตรัสรู้.
  45. มหาสาวก : (ปุ.) พระสาวกผู้ใหญ่ เว้นพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ เพราะสองท่านนี้ท่านเป็นพระอัครสาวก. แต่คำว่าพระมหาสาวก ๘๐ ก็รวมด้วย.
  46. มาริส : (ปุ.) เจ้า, ท่าน, ท่านผู้เช่นเรา, ท่านผู้หาทุกข์มิได้, ท่านผู้นิรทุกข์, ท่านผู้เว้นจากทุกข์ (นิทฺทุกฺข ทุกฺขรหิต) . ศัพท์นี้มีอยู่ในกลุ่มคำ มาทิกฺข แล้ว ที่แยกไว้อีกนี้ เพราะคำนี้มักใช้เป็น อาลปนะ.
  47. มุสาวาทาเวรมณีอาทิ : (วิ.) (วจีสุจริต) มีเจตนาเป็นเครื่องเว้นจากการพูดเท็จ เป็นต้น.
  48. ยฏฺฐ : (อิต.) ยัฏฐ ชื่อมาตราวัดระยะ ๗ รตนะ เป็น ๑ ยัฏฐ. ไม้เท้า, ไม้สักเท้า, คัน, ด้าม, ลำ, ต้น, ยตฺ ปยตเน, ติ. แปลง ติ เป็น ฐ. แปลง ตฺ เป็น ฏฺ หรือแปลง ติ เป็น ฏฺฐ ลบ ตฺ.
  49. ยต : กิต. บังคับ, ควบคุม, งดเว้น, สำรวมแล้ว
  50. รชฺชกาล : (ปุ.) เวลาแห่งความเป็นพระราชา, รัชกาล คือ ระยะเวลาครองราชสมบัติของพระราชาองค์หนึ่งๆ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-218

(0.0598 sec)