Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เอื้อเฟื้อ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เอื้อเฟื้อ, 25 found, display 1-25
  1. อนุวิคเณติ : ก. เอาใจใส่, เอื้อเฟื้อ, ระมัดระวัง
  2. อวทายติ : ก. กรุณา, เอื้อเฟื้อ
  3. ติโรคฺคาร : ป. การดูหมิ่น, การดูแคลน, ความไม่เอื้อเฟื้อ
  4. นิทฺทย : ค. หมดความกรุณา, ปราศจากความเอื้อเฟื้อ, ไม่สงสาร, โหดร้าย
  5. พฺยาปาล : (วิ.) ผู้รักษาโดยเอื้อเฟื้อวิเศษ, ผู้ดูแลโดยเอื้อเฟื้อโดยวิเศษ, ผู้ดูแลรักษาคนไข้, ผู้ปฏิบัติคนไข้.
  6. สมาจาร : (ปุ.) มารยาทอันบุคคลพึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อด้วยดี, มารยาทอันบุคคลพึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อสม่ำเสมอ, ความประพฤติดี, ความประพฤติที่ดี, ความประพฤติชอบ, มารยาทดี, มารยาทที่ดี, มารยาทเรียบร้อย. ส. สมาจาร.
  7. สาทร : (วิ.) เป็นไปกับด้วยความเคารพ, เป็นไปกับด้วยความเอื้อเฟื้อ, เป็นไปกับด้วยความเอาใจใส่.
  8. อฏฺฏยติ, อฏฺเฏติ : ก. ไม่เอื้อเฟื้อ
  9. อนาทร : (วิ.) ไม่เอื้อเฟื้อ, ไม่เอาใจใส่, ไม่พะวงไม่นำพา, เฉยเมย, เกียจคร้าน, คร้าน, เบียดเบียน, รบกวน, ดูถูก, ดูหมิ่น, ดูแคลนไม่เห็นแก่กัน, อนาทร (อะนาทอน) ไทยใช้ในความหมายว่าเป็นทุกข์เป็นร้อนร้อนอกร้อนใจ.น+อาทร.
  10. อนาทรตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่เอื้อเฟื้อ
  11. อนุกุลอนุกูล : (นปุ.) การอนุเคราะห์, การช่วยเหลือ, การเกื้อกูล, ความอนุเคราะห์, ฯลฯความโอบอ้อมอารี, ความเอื้อเฟื้อ, ความกรุณา.ส. อนุกูล.
  12. อนุกุล อนุกูล : (นปุ.) การอนุเคราะห์, การช่วย เหลือ, การเกื้อกูล, ความอนุเคราะห์, ฯลฯ ความโอบอ้อมอารี, ความเอื้อเฟื้อ, ความกรุณา. ส. อนุกูล.
  13. อนุทฺทยา : อิต. ความเอ็นดู, ความเอื้อเฟื้อ
  14. อปพฺยาม : ป. ความไม่เคารพยำเกรง, ความไม่เอื้อเฟื้อ
  15. อปวฺยาม : ป. ความไม่เคารพยำเกรง, ความไม่เอื้อเฟื้อ
  16. อวธาน : นป. การเอาใจใส่, การเอื้อเฟื้อ
  17. อาจริย : (ปุ.) อาจารย์ วิ. สิสฺสานํหิตมาจรตีติอาจริโย.อนฺเตวาสิกานํหิตํมุเขนอาจรติปวตฺตตีติวาอาจริโย (ผู้ประพฤติเอื้อเฟื้อแก่ศิษย์).อาทิโตปฏฺฐายจริตพฺโพอุปฎฺ-ฐาตพฺโพติ วาอาจริโย (ผู้อันศิษย์พึงบำรุงตั้งแต่แรก).อาทเรนจริตพฺโพติ วาอาจริโย(ผู้อันศิษย์พึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อ). อาปุพฺโพ, จรฺจรเณอุปฏฺฐาเน วา, โย, อิอาคโม.แปรเป็นอาเจรบ้าง. รูปฯ๖๓๘.ส.อาจรฺย.
  18. อาจาร : (ปุ.) มรรยาทอันบุคคลพึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อ, ความประพฤติ, ความประพฤติที่ดี, ความประพฤติไม่ล่วงละเมิดทางกายและทางวาจา, สีลสังวร, มารยาท, มรรยาท, มรรยาทอันดี, จรรยา, ขนบ, ธรรมเนียม, ระเบียบ, แบบแผน.ไตร.๓๕/๖๐๔.ส. อาจาร.
  19. อาทร : (ปุ.) การเอื้อ, การเอื้อเฟื้อ, การเอาใจใส่, การเคราพ, การยำเกรง, ความเอื้อ, ฯลฯ,
  20. อาปุจฺฉติ : ก. ถามโดยเอื้อเฟื้อ, ถามหา; บอกลา, ขอนุญาต
  21. อาปุจฺฉา : (อิต.) การอำลา, การบอกลา, การถามโดยเอื้อเฟื้อ, อาทร+ปุจฺฉฺ+อ ปัจ. ส.อาปฤจฺฉา.
  22. อาปุจฺฉา, - ฉิย : กิต. ถามโดยเอื้อเฟื้อแล้ว, บอกลาแล้ว, อนุญาตแล้ว
  23. อาปุจฺฉิตพฺพ : กิต. อันเขาพึงถามโดยเอื้อเฟื้อ, อันเขาพึงบอกลา
  24. อายาจติ : ก. ขอโดยเอื้อเฟื้อ, ขอร้องเชิญ
  25. อาหุเณยฺย อาหุเนยฺย : (วิ.) ผู้ควรรับจตุปัจจัย อันบุคคลนำมาแต่ไกลบูชา วิทูร โต อาเนตฺวา หุโตติ อาหุโณ (อันบุคคลนำมา แต่ที่ไกลบูชา). อาหุโณ จตุปจฺจโย อาหุณจตุปจฺจโย. อาหุณจตุปจฺจยสฺส คหณํ อาหุณจตุปจฺจยคหณํ. อาหุณจตุ- ปจฺจยคหณํ อรหตีติ อาหุเณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ฐานตัท. ควรแก่ทานอันบุคคล นำมาบูชา. ควรแก่ทานอันบุคคลพึงนำมาบูชา. วิ. อาเนตฺวา หุยเตติ อาหุณํ. อาเนตฺวา หุนิตพฺพนฺติ วา อาหุนํ. อาเนตฺวาบทหน้า หุ ธาตุในความบูชา ยุปัจ. อาหุณสฺสอรหตีติ อาหุเณยฺ โย. ควรซึ่ง (แก่) วัตถุอันบุคคลให้ (ถวาย) โดย ความเอื้อเฟื้อ วิ. อาทเรน หุยเต นิยเตติ อาหุณํ. อาทรบทหน้า หุ ธาตุในความให้ ยุ ปัจ. อาหุณํ อาหุณสฺส วา อรหตีติ อาหุ เณยฺโย. อีย, เอยฺย ปัจ. ศัพท์หลังแปลง ยุ เป็น อน.
  26. [1-25]

(0.0102 sec)