Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แจ่มแจ้ง, แจ้ง, แจ่ม , then จง, จม, จมจง, แจ้ง, แจ่ม, แจ่มแจ้ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แจ่มแจ้ง, 171 found, display 1-50
  1. ปจฺจกฺข : ค. ประจักษ์, ชัดเจน, แจ่มแจ้ง, แน่นอน
  2. ปากาสิย : ค. ซึ่งปรากฏ, เห็นชัด, แจ่มแจ้ง
  3. อุตฺตาน, - นก : ค. หงาย, นอนหงาย ; มีเนื้อความตื้น, ง่าย, แจ่มแจ้ง
  4. โอกฺขายติ : ก. ปรากฏชัด, แจ่มแจ้ง; ชอนเข้าไป
  5. พฺยตฺต : (วิ.) ผู้เป็นไปวิเศษ, ปรีชา, ฉลาด, เฉียบแหลม, แจ้ง แจ่มแจ้ง. วิเสส+อทฺ ธาตุในความเป็นไป ต ปัจ.
  6. โทสิน : ค., อิต. แจ่มแจ้ง, ปราศจากโทษ; (ราตรี) ซึ่งแจ่มจ้า, ซึ่งสว่างด้วยแสงจันทร์, คืนจันทร์แจ่ม
  7. ปฏิภาติ : ก. แจ่มแจ้ง, ปรากฏชัด (ขึ้นในใจ)
  8. อาวิภวติ : ก. แจ่มแจ้ง, ปรากฏชัด
  9. จิตฺตปฏิสเวที : (วิ.) รู้พร้อมเฉพาะซึ้งจิต, จิตตปฏิสังเวที(ทำให้จิตแจ่มแจ้ง).
  10. ญาณกรณ, - ณี : ค. อันทำให้เข้าใจแจ่มแจ้ง, อันทำให้รู้แจ้ง
  11. ญาณทสฺสี : นป. ผู้มีความเห็นอันแจ่มแจ้ง
  12. ธมฺมทสฺสน : (นปุ.) การเห็นซึ่งธรรม, ความเห็นซึ่งธรรม, ความเห็นธรรม, ธรรมทัศน์(ความเห็นธรรมอย่างแจ่มแจ้ง).
  13. นิปก : (วิ.) ผู้ยังกุศลกรรมให้สุกโดยไม่เหลือ (คือมีในตนให้สมบูรณ์), ปัญญาอัน ยังกุศลธรรมให้สุกโดยไม่เหลือ. วิ นิสฺเสสโต ปาเจติ กุสลธมฺเมติ นิปโก. นิปปุพฺโพ, ปจฺ ปาเก, อ, จสฺส โก.ผู้มี ปัญญาเป็นเครื่องรักษาซึ่งตนโดยไม่เหลือ, ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน,ผู้มีปัญญา รักษาตน, ผู้รักษาตนให้สิ้นจากปฏิปักษ์. นิปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ, สกตฺเถ โก.ผู้ยัง ปฏิปักษ์ให้สิ้น วิ.นิปยติปฏิกฺขนฺติ นิปโก. นิปุพฺโพ, เป โสสเน, อ, สกตเถ โก.ผู้มี ไหวพริบ,ผู้ฉลาด,ผู้รอบคอบ,ผู้มีปัญญา, ผู้มีปัญญาแจ่มแจ้ง,ผู้มีความรู้,ผู้มีความ ตรัสรู้,ผู้มีญาน, ผู้มีปัญญาทำลายกิเลส. ไตร. ๓๐/๒๑๐.
  14. นิพฺเพฐิต : ค. (อันเขา) อธิบาย, ทำให้แจ่มแจ้ง, สางออก, แก้ออก
  15. นิพฺเพเฐติ : ก. อธิบาย; ทำให้แจ่มแจ้ง, สางออก, แก้ออก
  16. นิเวฐน : นป. การแก้ออก, การสางออก, การอธิบาย, การทำให้แจ่มแจ้ง
  17. นิเวเฐติ : ก. แก้ออก, สางออก, อธิบาย, ทำให้แจ่มแจ้ง, ปฏิเสธ
  18. ปฏิภาณ, - ภาน : นป. ปฏิภาณ, ไหวพริบ, ความสามารถพูดโต้ตอบได้ฉับไว, ความเฉียบแหลม, ความแจ่มแจ้ง
  19. ปฏิเวธ : ป. การแทงตลอด, การเข้าใจตลอด, การรู้แจ่มแจ้ง, การบรรลุธรรม
  20. ผุฏ ผุฏน : (นปุ.) อันบาน, อันเปิดออก, อันปรากฏ, อันแจ่มแจ้ง, การบาน, ฯลฯ, ความบาน, ฯลฯ. ผุฏฺ วิกสเน, อ, ยุ. อันแตก, อันทำลาย, อันสลาย. ผุฏฺ วิเภเท, อ, ยุ.
  21. สมธิคจฺฉติ : ก. บรรลุยิ่ง, เข้าใจแจ่มแจ้ง
  22. อภิภาสน : นป. การตรัสรู้, ความแจ่มแจ้งในใจ, ความดีใจ
  23. อวิภาวี : ค. ผู้ไม่มีปัญญาแจ่มแจ้ง
  24. อาวิกโรติ : ก. ทำให้แจ้ง, อธิบายให้เข้าใจแจ่มแจ้ง
  25. อาวิภาว : ป. ความปรากฏแจ่มแจ้ง, ความปรากฏชัด
  26. อุกฺกาจิต : กิต. ทำให้สว่างแล้ว, ทำให้แจ่มแจ้งแล้ว
  27. อุชฺชล : ค. โชติช่วง, โพลง, แจ่ม
  28. ปูฏ : (วิ.) ฉลาด, แจ้ง, ชำระ, ล้าง, สะอาด, บริสุทธิ์. ปุ ปวเน, โฏ, ทีโฆ จ. หรือ ต ปัจ. แปลงเป็น ฏ.
  29. วิ : อ. วิเศษ, แจ้ง, ต่าง, ไม่มี
  30. สมฺมุขา : (อัพ. นิบาต) ต่อหน้า, แจ้ง, ชัด, พร้อมหน้า, ในที่พร้อมหน้า, ในที่เฉพาะหน้า. นิบาตลงในอรรถสัตมี. รูปฯ ๒๘๒.
  31. อาจิกฺขติ : ก. บอก, แสดง, แจ้ง, กล่าว
  32. อาวิ อาวี : (อัพ. นิบาต) ต่อหน้า, แจ้ง, ชัด, ที่แจ้ง, ในที่แจ้ง.
  33. กิจฺจญ าณ : (นปุ.) ความรู้ซึ่งกรรมอัน...พึงทำ, ฯลฯ, กิจจญาณ ชื่อของญาณอย่างที่ ๒ ใน ๓ อย่างของการเจริญอริยสัจ ๔ ได้แก่รู้ว่า ทุกข์เป็นของที่ควรกำหนดรู้ สมุทัยเป็น ของที่ควรจะ นิโรธ เป็นของที่ควรทำให้ แจ้ง มรรคเป็นของที่ควรทำให้เกิดมี.
  34. กายวิญฺญาณ : นป. ความรู้สึกในกายสัมผัส, ความรู้แจ้งอารมณ์ด้วยกายคืออาการที่รู้ว่าสัมผัส
  35. กาลวิปสฺสี : ค. ผู้มีปกติเห็นกาลเวลาอย่างแจ้งชัด
  36. ขยานุปสฺสนา : อิต. ความรู้แจ้งเห็นจริงในความเสื่อม
  37. จกฺขุวิญฺเญยฺย : ค. (สิ่ง) ที่พึงรู้แจ้งด้วยจักษุ
  38. ทิฏฺฐาวิกมฺม : นป. การทำความเห็นให้แจ้ง, การเปิดเผย, สารภาพ
  39. ทูต : (ปุ.) บุคคลผู้อัน..ส่งไป, คนนำข่าว, ทูต (ผู้นำข่าวสารไปบอก ผู้นำข้อความไป แจ้งทั้งสองฝ่าย ผู้รับใช้ไปเจรจาแทน). วิ. โย เปสียเต โส ทูโด. ทุ คมเน, โต, ทีโฆ. ส. ทูต.
  40. โทสินาปุณฺณมาสี : อิต. ดิถีเพ็ญที่แจ่มจ้า, คืนวันเพ็ญที่มีพระจันทร์แจ่ม
  41. โทสินามุข : นป. พระจันทร์ในคืนปราศจากเมฆหมอก, จันทร์แจ่ม
  42. นภ : (นปุ.) หาว (ที่แจ้งท้องฟ้า), กลางหาว, อากาศ, ฟ้า, ท้องฟ้า, โพยม, โพยมัน, โพยมาน (ท้องฟ้า), นภา. วิ. น ภวติ เอตฺถกิญฺจิ ปิ วตฺถูติ นภํ. นตฺถิ ภูมิ เอตฺถาติ วา นภํ. น ภายนฺติ ปกขิโน เอตฺถาติ วา นภํ. เป็น ปุ. ก็มี. ส.นภ, โวยมนฺ.
  43. นาฎฺยรส : (ปุ.) นาฏยรส. นาฏยรสมี ๙ คือ ๑. สิงฺคาโร ความรัก ๒.กรุโณ ความเอ็นดู ๓. วิโร ความกล้าหาญ ๔. อพฺภูโต ความอัศจรรย์ ๕. หสฺโส ความร่าเริง ๖. ภยานโก ความกลัว ๗. สนฺโต ความละเอียด ความสงบ ๘. วิภจฺฉํ เห็นแจ้ง และ ๙. รุทฺทํ ความโกรธ.
  44. นาฏยรส : ป. รสแห่งนาฏยะมี ๙ อย่างคือ (๑) สิงฺคาร ความรัก (๒) กรุณา ความเอ็นดู (๓) วีร ความพากเพียรอาจหาญ (๔) อพฺภูต ความอัศจรรย์ (๕) หสฺส ความร่าเริง (๖) ภย ความกลัว (๗) สนฺต ความสงบ (๘) สิภจฺฉ ความเห็นแจ้ง (๙) รุทฺธ ความโกรธ
  45. นิชฺฌตฺติ : ๑. ค. อันดับ, ซึ่งสงบ, ซึ่งระงับ, ๒. อิต. ความเห็น, ความเข้าใจ, ความประจักษ์แจ้ง
  46. นิพฺพาณสจฺฉิกรณ นิพฺพานสจฺฉิกรณ : (นปุ.) การทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน,การทำให้แจ้งพระนิพพาน,การทำพระนิพพานให้แจ้ง.
  47. นิพฺพานสจฺฉิกิริยา : อิต. การกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน
  48. นิเวฐ : ค. ซึ่งแก้ออก, ซึ่งทำให้แจ้ง
  49. นิเวเทติ : ก. ประกาศให้ทราบ, แจ้งให้ทราบ
  50. ปฏิวิชฺฌติ : ก. แทงตลอด, รู้แจ้ง, เข้าใจชัด
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-171

(0.0727 sec)