Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แจ้งเหตุ, แจ้ง, เหตุ , then จง, แจ้ง, แจ้งเหตุ, หต, เหตุ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แจ้งเหตุ, 324 found, display 1-50
  1. เหตุ : (ปุ.) มูลเค้า, เค้ามูล, ข้อความ, เรื่องราว, เหตุ คือ สิ่งหรือเรื่องที่ทำให้เกิดผล. วิ. หิโณติ ปริณมติ การิยรูปตฺนติ เหตุ. หิ คติยํ, ตุ. หิโณติ ผล เมตฺถาติ วา เหตุหิ ปติฎฺฐายํ. หิโณติ ผลํ เอเตนาติ วา เหตุ. หิ ปวตฺตเน. ส. เหตุ.
  2. โอกาส : (ปุ.) ช่อง, ช่องเป็นที่ไถลง, ที่แจ้ง, ที่ว่าง, เหตุ, การณะ, เวลา, สถานที่, เทสะ, เอกเทศ, ทาง, ทนทาง. อวปุพฺโพ, กสฺ วิเลขเน, โณ. ไทย โอกาส (โอกาด) ใช้ ในความหมายว่า เวลาที่เหมาะสม เวลาที่เหมาะ ช่องที่เหมาะ อุ. ได้โอกาส การอนุญาต อุ. ให้โอกาส. ส. อวกาศ.
  3. ปฏิคฺคหีตุ, - เหตุ : ป. ผู้รับ
  4. กามเหตุ : ค. มีความใคร่เป็นเหตุ
  5. ชีวิตเหตุ : ก. วิ. เหตุแห่งชีวิต, เหตุแห่งความเป็นอยู่, เพื่อความเป็นอยู่
  6. ฐาน : นป. ฐานะ, การตั้งอยู่, การดำรงอยู่, การหยุดอยู่, ที่ตั้ง, หลักแหล่ง, ตำแหน่ง, เหตุ, โอกาส
  7. ฐิ ติ : (อิต.) การหยุด, การหยุดไว้, ฯลฯ, ความหยุด, ฯลฯ, ความอดทน, ความทนทาน, ความมั่นคง, ความแน่นอน, ความเป็นไป, ความมีชีวิตอยู่, ฐานะ, เหตุ, ข้อบังคับ, ข้อ บัญญัติ, ประธานกริยา. วิ. ฐานํ ฐิติ. ฐา+ ติ ปัจ. แปลง อา เป็น อิ.
  8. ธนเหตุ : ก. วิ. เพราะเหตุทรัพย์, เพราะเห็นแก่ทรัพย์
  9. นิทาน : (นปุ.) เหตุเป็นเครื่องมอบให้ซึ่งผล, เหตุเป็นแดนมอบให้ซึ่งผล, เหตุอันเป็น มูลเค้า, เหตุ, มูลเหตุ, มูลเค้า, ต้นเหตุ, เรื่องเดิม, เรื่อง. วิ. นิทียเต นิจฺฉียเต อเนเนติ นิทานํ. นิทฺทาติ ผลนฺติ วา นิทานํ นิปุพฺโพ, ทา ทาเน, ย. ส. นิทาน.
  10. ปฏฺฐาน : นป. การเริ่มตั้งไว้, การตั้ง, การเริ่มต้น; จุดตั้งต้น, แหล่ง, เหตุ; ชื่อคัมภีร์ที่ ๗ แห่งอภิธรรมปิฎก
  11. ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ; ๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ; ๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
  12. ปรเหตุ : อ. เพราะเหตุแห่งผู้อื่น, เพราะผู้อื่นเป็นเหตุ
  13. ปริยาย : ป. ระเบียบ, อันดับ, เหตุ, หนทาง, คุณภาพ, วิธีการพูดอ้อมค้อม, ไวพจน์, บรรยาย
  14. ปูฏ : (วิ.) ฉลาด, แจ้ง, ชำระ, ล้าง, สะอาด, บริสุทธิ์. ปุ ปวเน, โฏ, ทีโฆ จ. หรือ ต ปัจ. แปลงเป็น ฏ.
  15. วิ : อ. วิเศษ, แจ้ง, ต่าง, ไม่มี
  16. สมฺปาปกเหตุ : (ปุ.) เหตุอันยังบุคคลผู้ปฏิบัติให้ถึงด้วยดี (ได้แก่มรรค ๘).
  17. สมฺมุขา : (อัพ. นิบาต) ต่อหน้า, แจ้ง, ชัด, พร้อมหน้า, ในที่พร้อมหน้า, ในที่เฉพาะหน้า. นิบาตลงในอรรถสัตมี. รูปฯ ๒๘๒.
  18. สมุฏฐาน : (นปุ.) การตั้งขึ้นพร้อม, ความตั้งขึ้นพร้อม, ที่ตั้ง, เหตุ, เค้าเงื่อน, สมุฎฐาน.
  19. สมุทย : (ปุ.) การเกิดขึ้นพร้อม, การตั้งขึ้นพร้อม, การเกิดขึ้น, ความตั้งขึ้นพร้อม, ฯลฯ, ปัจจัย, ที่เกิด, เหตุ, ต้นเหตุ, เหตุเกิดแห่งทุกข์, ฝูง, ฯลฯ, ชุมนุม, สมุทัย(เหตุให้เกิดทุกข์). วิ. สหาวยเวน อุทยตีติ สมุทโย. สหปุพฺโพ, อุปพฺโพ, อยฺ คติยํ, อ, ทฺอาคโม.
  20. เหตุ : (วิ.) เป็นไปกับด้วยเหตุ. วิ. สห เหตุนา โย วตฺตตีติ สเหตุ. แปลง สห เป็น ส ลง ก สกัด เป็นสเหตุก และใช้ศัพท์นี้โดยมาก.
  21. อตฺตเหตุ : (วิ.) มีตนเป็นเหตุ.
  22. อธิกรณ : (นปุ.) การทำยิ่ง, โทษชาตเป็นเครื่องทำยิ่ง, โทษ, คดี, เหตุ, เรื่อง, เรื่องราว, อธิกรณะเป็นคำเรียกบทที่ประกอบสัตมีวิ-ภัติ, อธิกรณ์ คือข้อพิพาท หรือที่ถกเถียงกันเมื่อเกิดขึ้นแล้วต้องทำ ต้องระงับ.อธิบทหน้ากรฺธาตุยุปัจ.ส.อธิกรณ.
  23. อปเทส : (ปุ.) คำกล่าว, คำบอกเล่า, คำชี้แจง, คำอ้างอิง, ข้ออ้างอิง, การกล่าวอ้าง, เหตุ, การโกง.อปปุพฺโพ, ทิสฺ อุจฺจารเณ, โณ.
  24. เหตุ, - ตุก : ค. ไม่มีเหตุ, ไม่มีมูล
  25. อาการก : นป. ลักษณะ, ท่าทาง, มรรยาท, อาการ, เหตุ
  26. อาจิกฺขติ : ก. บอก, แสดง, แจ้ง, กล่าว
  27. อายตน : (นปุ.) ที่เป็นที่มาร่วมกัน, ที่เป็นที่มาประชุมกัน, ที่เป็นที่มาพร้อมกัน, ที่ประชุม, ที่เป็นที่ต่อ, ที่เป็นที่มาต่อ, แดนติดต่อกัน, เทวาลัย, ที่อยู่, ประเทศที่เกิด, บ้านเกิดเมืองนอน, บ่อ, บ่อเกิด, อากร, เหตุ, หมู่, ฝูง, ปทปูรณะ ( การทำบทให้เต็มให้สละสลวย), ลัทธิอุ.ติตฺถายตนํลัทธิเดียรถีย์.อาปุพฺโพตนุวิตฺถาเร, อ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยตฺปยตเน, ยุ.ส. อายตน.
  28. อารมฺมณ : (นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, ธรรมชาติเป็นที่เหนี่ยวของจิต, ธรรมชาตเป็นที่มารื่นรมย์, ธรรมชาตเป็นที่ยินดีของจิต, เครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, เครื่องยึดหน่วงแห่งจิต, ความคิด, ความรู้สึก, เหตุ, โคจร, นิสัยใจคอ ?, อารมณ์(ความเป็นไปแห่งจิตในขณะหนึ่งๆธรรมชาติที่เกิดขึ้นให้จิตรู้สึกสิ่งที่จิตรู้).วิ.อาคนฺตวาอาภุโสวาจิตฺตเจตสิกาธมฺมารมนฺติเอตฺถาติอารมฺมณํ.อาปุพฺโพ, รมฺรมเณ, ยุ
  29. อาวิ อาวี : (อัพ. นิบาต) ต่อหน้า, แจ้ง, ชัด, ที่แจ้ง, ในที่แจ้ง.
  30. อุปตฺติเหตุ อุปฺปตฺติเหตุ : (ปุ.) เหตุแห่งการบังเกิด, ฯลฯ. อุบัติเหตุ ไทยใช้ในความหมายว่า เหตุที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดฝัน เหตุที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด.
  31. อุปตฺติ อุปฺปตฺติ : (อิต.) การเกิด, การเกิดขึ้น, การบังเกิด, การบังเกิดขึ้น, ความเกิด, ฯลฯ, เหตุ, เหตุเครื่องบังเกิด, กำเนิด, การลง อุ. วิภตฺตุปฺปตฺติ การลงวิภัติ. อุปุพฺ โพ, ปทฺ คติยํ, ติ. วิ. อุปฺปชฺชนํ อุปตฺติ อุปฺปตฺติ วา. คำหลังซ้อน ป. ไทยใช้อุบัติ เป็นกิริยา ในความว่า เกิด เกิดขึ้น ใช้เป็น นามว่า การเกิดขึ้น. กำเนิด เหตุ รากเหง้า. ส. อุตฺปตฺติ.
  32. อูห : (นปุ.) ข้อความ, เหตุ, เหตุการณ์. อูหฺ วิตกฺเก, อ.
  33. พฺรูเหตุ : ป. ผู้เจริญ, ผู้พอกพูน
  34. หต : กิต. ฆ่าแล้ว, ทำลาย
  35. อุคฺคเหตุ : ป. ผู้เรียน, ผู้ศึกษา
  36. นิยาม : (ปุ.) การกำหนด, ความกำหนด, เหตุ เป็นเครื่องกำหนด, ทาง, หนทาง, มรรค, แบบ, อย่าง, วิธี, ทำนอง. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, โณ. ไทยใช้นิยามเป็นกิริยาใน ความหมายว่า กำหนดหรือจำกัดความหมายที่แน่นอน หรือให้ความหมายอย่าง กะทัดรัด.
  37. พฺยตฺต : (วิ.) ผู้เป็นไปวิเศษ, ปรีชา, ฉลาด, เฉียบแหลม, แจ้ง แจ่มแจ้ง. วิเสส+อทฺ ธาตุในความเป็นไป ต ปัจ.
  38. มคฺค : (ปุ.) ถนน, หน (ทาง), ทาง, หนทาง, ช่อง, อุบาย, เหตุ (ใช้คู่กับคำว่าผล), มรคา, มรรคา, มรรค. วิ. ปถิเกหิ มชฺชเต นิตฺติณํ กรียเตติ มคฺโค. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, โณ, ชสฺส คตฺตํ. ปถิเกหิ มคฺคียเตติ วา มคฺโค. มคฺคฺ อเนฺวส-เน, อ. ตํ ตํ กิจฺจํ หิตํ วา นิปฺผาเทตุกาเมหิ มคฺคียตี-ติ วา มคฺโค.
  39. เหติ : (อิต.) ศัตรา, อาวุธ, ศัตราวุธ, เครื่องรบ, ขอ, หอก, หลาว. วิ. หรติ ชีวิตนฺติ เหตุ. หรฺ หรเณ, ติ, อสฺเส, รฺโลโป.
  40. กรณี : (อิต.) คดี, เรื่อง, เรื่องเดิม, มูล, เหตุ. ส. กรณี.
  41. กิจฺจญ าณ : (นปุ.) ความรู้ซึ่งกรรมอัน...พึงทำ, ฯลฯ, กิจจญาณ ชื่อของญาณอย่างที่ ๒ ใน ๓ อย่างของการเจริญอริยสัจ ๔ ได้แก่รู้ว่า ทุกข์เป็นของที่ควรกำหนดรู้ สมุทัยเป็น ของที่ควรจะ นิโรธ เป็นของที่ควรทำให้ แจ้ง มรรคเป็นของที่ควรทำให้เกิดมี.
  42. กิมงฺค : (นปุ.) คำมีอะไรเป็นเหตุ, อะไรเป็น เหตุ. แปล องฺค ว่าเหตุ อ. กิมงฺคํ ปน ก็ อ. อะไรเป็นเหตุเล่า แปลโดยอรรถว่า จะป่วยกล่าวไปใย. กึ
  43. โจปน : (นปุ.) การยัง...ให้ไหว, การยัง...ไห้ หวั่นไหว. จุ จวเน, ณาเป ปัจ. เหตุ. และ ยุ ปัจ.
  44. ชเนตฺติก : (ปุ.) แปลเหมือน ชนก. ชนฺ ธาตุ เณ ปัจ. เหตุ ติ ปัจ. ซ้อน ตฺ ก สกัด.
  45. ติตฺถ : (นปุ.) ท่า, ท่าน้ำ, ท่าเป็นที่ข้าม, ท่า ข้าม, ทิฏฐิ คือความเห็นนอกพุทธศาสนา, ลัทธิ ( นอกพุทธศาสนา), อุบาย ( เหตุ ), น้ำศักดิ์สิทธิ์. ตรฺ ปฺลวนตรเณสุ, โถ, อสฺส อิตฺตํ, ทฺวิตฺตํ ( แปลง ถ เป็น ตฺถ), รโลโป. หรือแปลง รฺ เป็น ตฺ ก็ไม่ต้องแปลง ถ เป็น ตฺถ. ส. ตีรถ.
  46. ตุ : (อัพ. นิบาต) ส่วนว่า, ก็. เป็นไปในความวิเศษ เหตุ และการห้ามเป็นต้น. แล เป็น ปทปูรณะ.
  47. นจฺจาปน : (วิ.) ให้ฟ้อนอยู่. นตฺ ธาตุ ย ปัจ. ประจำธาตุ ณาเป ปัจ. เหตุ. ยุ ปัจ. แปลง ตฺย เป็น จฺจ ลบ ณฺ และ เอ แปลง ยุ เป็น อน.
  48. นิฏฐาปน : (นปุ.) อันยัง...ให้ตั้งลง, อัน ยัง...ให้สำเร็จ, อันยัง...ให้จบ. นิ+ฐา+ณาเป ปัจ. เหตุ. ยุ. ปัจ.
  49. นิปฺผาทน : (นปุ.) การยัง...ให้สำเร็จ. นิ+ปทฺ ธาตุ เณ ปัจ. เหตุ และ ยุ ปัจ.
  50. ปภาส : (วิ.) ยัง...ให้สว่าง, ยัง...ให้รุ่งเรือง, ยัง...ให้ผุดผ่อง. ปปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, โส. ภาสุ ทิตฺติยํ วา, อ. ลง เณ ปัจ. เหตุ. แล้วลบ. สว่าง, รุ่งเรือง, ผุดผ่อง. ๓ คำแปลนี้ ไม่ลงเณ ปัจ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-324

(0.0653 sec)