Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แถว , then ถว, แถว .

Eng-Thai Lexitron Dict : แถว, more than 7 found, display 1-7
  1. file 1 : (N) ; แถว ; Related:แถวที่เรียง, คอลัมน์ ; Syn:column, line, row
  2. cue 2 : (N) ; แถว ; Related:คนที่เข้าแถวเพื่อรอกระทำบางสิ่งบางอย่าง, คนที่เข้าคิว ; Syn:queue
  3. line 1 : (N) ; แถว ; Related:คิว, แนว ; Syn:row
  4. range : (N) ; แถว ; Related:ลำดับ ; Syn:row
  5. rank 1 : (N) ; แถว ; Related:ขบวน ; Syn:column, line, row
  6. row 1 : (N) ; แถว ; Related:แผง, ทิว, แนว ; Syn:column, line
  7. string : (N) ; แถว ; Related:ทาง ; Syn:line, row
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : แถว, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : แถว, more than 7 found, display 1-7
  1. แถว : (CLAS) ; column ; Related:row, line, file, rank ; Def:ลักษณนามของสิ่งที่เป็นแถว ; Samp:ฝาผนังของอุโบสถเจาะเป็นช่องกุดเล็กๆ 7 แถวเรียงกันทั้งสามด้านเพื่อบรรจุพระพุทธรูปขนาดเล็ก
  2. แถว : (N) ; column ; Related:row, line, string, file ; Syn:แนว ; Def:คนหรือสิ่งที่เรียงเป็นเส้นเป็นแถว ; Samp:กองกำลังทหารเรียงแถวเป็นระเบียบเรียบร้อย
  3. แถว : (N) ; vicinity ; Related:neighborhood, area, district, environs, locality ; Syn:แถบ, ละแวก, บริเวณ ; Samp:ทางการปรับปรุงพัฒนาถนนหนทางแถวนี้จนดีขึ้น
  4. คิว 2 : (N) ; queue ; Related:line, file ; Syn:แถว ; Def:แถวตามลำดับก่อนหลัง ; Samp:ร้านขายหนังสือแห่งหนึ่งขายดีมากจนลูกค้าต้องยืนเข้าคิวรอจ่ายเงินกันยาวเหยียด ; Unit:คิว
  5. แนว : (N) ; row ; Related:column, line, range ; Syn:แถว ; Def:สิ่งที่เป็นลักษณะเป็นแถวหรือเป็นเส้นทางยาวไป ; Samp:รอบๆ บริเวณบ้านของเขาจะมีพวกไม้เลื้อยขึ้นเป็นแถวเป็นแนวเหมือนขอบรั้ว
  6. ตับ 2 : (N) ; (in a) row ; Related:(in a) line, (in a) rank ; Syn:แถว ; Def:เรียกของที่ผูก ตั้ง หรือวางเรียงกันเป็นแถว ; Samp:รถเก๋งงามหรูจอดเป็นตับอยู่ในโรงรถ
  7. ทิวแถว : (N) ; row ; Related:line, range ; Syn:แถว, แนว ; Samp:ฝูงเป็ดกำลังกลับคอก เดินกันมาเป็นทิวแถว
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : แถว, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : แถว, more than 5 found, display 1-5
  1. แถว : น. แถบ เช่น คนแถวนี้, คนหรือสิ่งที่เรียงเป็นเส้นเป็นแนว เช่น แถวทหาร.
  2. ชักสองแถว : ก. ยอมแพ้ (ใช้แก่ปลากัดซึ่งมีตัวซีด มีเส้นดํา ขึ้นที่ตัวเป็น ๒ แถว).
  3. รถสองแถว : น. รถรับจ้างที่มีที่นั่งไปตามความยาวของรถเป็น ๒ แถว.
  4. กินแถว : ก. เอาตัวหมากออกจากกระดานตลอดทั้งแถว (ใช้เฉพาะการเล่นหมากแยก). ว. กระทบกระเทือนทุกคนในพวกนั้น, ถูกลงโทษทุกคนในพวกนั้น.
  5. ดอม ๑ : น. ราว, แถว, แนว, เช่น ดอมไพร. (ข. ฎงไพฺร).
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : แถว, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : แถว, 3 found, display 1-3
  1. สปทานจาริกังคะ : องค์แห่งผู้ถือเที่ยวบิณฑบาตไปตามลำดับบ้านเป็นวัตร คือรับตามลำดับบ้านตามแถวเดียวกัน ไม่รับข้ามบ้านข้ามแถว, เที่ยวบิณฑบาตไปตามตรอก ตามห้องแถวเรียงลำดับเรื่อยไปเป็นแนวเดียวกัน ไม่ข้ามไปเลือกรับที่โน้นที่นี่ตามใจชอบ (ข้อ ๔ ในธุดงค์ ๑๓)
  2. อนุพยัญชนะ : ลักษณะน้อยๆ, พระลักษณะข้อปลีกย่อยของพระมหาบุรุษ (นอกเหนือจากมหาบุรุษลักษณะ ๓๒) อีก ๘๐ ประการ คือ ๑) มีนิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทอันเหลืองงาม, ๒) นิ้วพระหัตถ์และนิ้วพระบาทเรียวออกไป โดยลำดับแต่ต้นจนปลาย, ๓) นิ้วพระหัตถ์ แลนิ้วพระบาทกลมดุจนายช่างกลึงเป็นอันดี, ๔) พระนขาทั้ง ๒๐ มีสีอันแดง, ๕) พระนขาทั้ง ๒๐ นั้น งอนงามช้อนขึ้นเบื้องบนมิได้ค้อมลงเบื้องต่ำ ดุจเล็บแห่งสามัญชนทั้งปวง, ๖) พระนขานั้นมีพรรณอันเกลี้ยงกลม สนิทมิได้เป็นริ้วรอย, ๗) ข้อพระหัตถ์และข้อพระบาทซ่อนอยู่ในพระมังสะ มิได้สูงขึ้นปรากฏออกมาภายนอก, ๘) พระบาททั้งสองเสมอกันมิได้ย่อมใหญ่กว่ากันมาตรว่าเท่าเมล็ดงา, ๙) พระดำเนินงานดุจอาการเดินแห่งกุญชรชาติ, ๑๐) พระดำเนินงามดุจสีหราช, ๑๑) พระดำเนินงามดุจดำเนินแห่งหงส์, ๑๒) พระดำเนินงามดุจอุสภราชดำเนิน, ๑๓) ขณะเมื่อยืนจะย่างดำเนินนั้น ยกพระบาทเบื้องขวาย่างไปก่อน พระกายเยื้องไปข้างเบื้องขวาก่อน, ๑๔) พระชานุมณฑลเกลี้ยงกลมงามบริบูรณ์ บ่มิได้เห็นอัฏฐิสะบ้าปรากฏออกมาภายนอก, ๑๕) มีบุรุษพยัญชนะบริบูรณ์คือมิได้มีกิริยามารยาทคล้ายสตรี ๑๖) พระนาภีมิได้บกพร่อง กลมงามมิได้วิกลในที่ใดที่หนึ่ง, ๑๗) พระอุทรมีสัณฐานอันลึก, ๑๘) ภายในพระอุทรมีรอยเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏ, ๑๙) ลำพระเพลาทั้งสองกลมงามดุจลำสุวรรณกัททลี, ๒๐) ลำพระกรทั้งสองงามดุจงวงแห่งเอราวัณเทพยหัตถี, ๒๑) พระอังคาพยใหญ่น้อยทั้งปวงจำแนกเป็นอันดี คือ งามพร้อมทุกสิ่งหาที่ตำหนิบ่มิได้, ๒๒) พระมังสะที่ควรจะหนาก็หนา ที่ควรจะบางก็บางตามที่ทั่วทั้งประสรีรกาย, ๒๓) พระมังสะมิได้หดหู่ในที่ใดที่หนึ่ง ๒๔) พระสรีรกายทั้งปวงปราศจากต่อมและไฝปาน มูลแมลงวันมิได้มีในที่ใดที่หนึ่ง, ๒๕) พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสมกันโดยตามลำดับทั้งเบื้องบนแลเบื้องล่าง, ๒๖) พระกายงามบริสุทธิ์พร้อมสิ้นปราศจากมลทินทั้งปวง, ๒๗) ทรงพระกำลังมาก เสมอด้วยกำลังแห่งกุญชรชาติ ประมาณถึงพันโกฏิช้าง ถ้าจะประมาณด้วยกำลังบุรุษก็ได้ถึงแสนโกฏิบุรุษ, ๒๘) มีพระนาสิกอันสูง, ๒๙) สัณฐานนาสิกงามแฉล้ม ๓๐) มีพระโอษฐ์เบื้องบนเบื้องต่ำมิได้เข้าออกกว่ากัน เสมอเป็นอันดี มีพรรณแดงงามดุจสีผลตำลึงสุก, ๓๑) พระทนต์บริสุทธิ์ปราศจากมูลมลทิน, ๓๒) พระทนต์ขาวดุจดังสีสังข์, ๓๓) พระทนต์เกลี้ยงสนิทมิได้เป็นริ้วรอย, ๓๔) พระอินทรีย์ทั้ง ๕ มีจักขุนทรีย์เป็นอาทิงามบริสุทธิ์ทั้งสิ้น, ๓๕) พระเขี้ยวทั้ง ๔ กลมบริบูรณ์, ๓๖) ดวงพระพักตร์มีสัณฐานยาวสวย ๓๗) พระปรางค์ทั้งสองดูเปล่งงามเสมอกัน, ๓๘) ลายพระหัตถ์มีรอยอันลึก, ๓๙) ลายพระหัตถ์มีรอยอันยาว ๔๐) ลายพระหัตถ์มีรอยอันตรง บ่มิได้ค้อมคด ๔๑) ลายพระหัตถ์มีรอยอันแดงรุ่งเรือง, ๔๒) รัศมีพระกายโอภาสเป็นปริมณฑลโดยรอบ ๔๓) กระพุ้งพระปรางค์ทั้งสองเคร่งครัดบริบูรณ์ ๔๔) กระบอกพระเนตรกว้างแลยาวงามพอสมกัน ๔๕) ดวงพระเนตรกอปรด้วยประสาททั้ง ๕ มีขาวเป็นอาทิผ่องใสบริสุทธิ์ทั้งสิ้น ๔๖) ปลายเส้นพระโลมาทั้งหลายมิได้งอมิได้คด ๔๗) พระชิวหามีสัณฐานอันงาม ๔๘) พระชิวหาอ่อนบ่มิได้กระด้างมีพรรณอันแดงเข้ม ๔๙) พระกรรณทั้งสองมีสัณฐานอันยาวดุจกลีบปทุมชาติ ๕๐) ช่องพระกรรณมีสัณฐานอันกลมงาม ๕๑) ระเบียบพระเส้นทั้งปวงนั้นสละสลวยบ่มิได้หดหู่ในที่อันใดอันหนึ่ง ๕๒) แถวพระเส้นทั้งหลายซ่อนอยู่ในพระมังสะทั้งสิ้น บ่มิได้เป็นคลื่นฟูขึ้นเหมือนสามัญชนทั้งปวง ๕๓) พระเศียรมีสัณฐานงามเหมือนฉัตรแก้ว ๕๔) ปริมณฑลพระนลาฏโดยกว้างยาวพอสมกัน ๕๕) พระนลาฏมีสัณฐานอันงาม ๕๖) พระโขนงมีสัณฐานอันงามดุจคันธนูอันก่งไว้ ๕๗) พระโลมาที่พระโขนงมีเส้นอันละเอียด ๕๘) เส้นพระโลมาที่พระโขนงงอกขึ้นแล้วล้มราบไปโดยลำดับ ๕๙) พระโขนงนั้นใหญ่ ๖๐) พระโขนงนั้นยาวสุดหางพระเนตร ๖๑) ผิวพระมังสะละเอียดทั่วทั้งพระกาย ๖๒) พระสรีรกายรุ่งเรืองไปด้วยสิริ ๖๓) พระสรีรกายมิได้มัวหมอง ผ่องใสอยู่เป็นนิตย์ ๖๔) พระสรีรกายสดชื่นดุจดวงดอกปทุมชาติ ๖๕) พระสรีรสัมผัสอ่อนนุ่มสนิท บ่มิได้กระด้างทั่วทั้งพระกาย ๖๖) กลิ่นพระกายหอมฟุ้งดุจกลิ่นสุคนธกฤษณา ๖๗) พระโลมามีเส้นเสมอกันทั้งสิ้น ๖๘) พระโลมามีเส้นละเอียดทั่วทั้งพระกาย ๖๙) ลมอัสสาสะและปัสสาสะลมหายพระทัยเข้าออกก็เดินละเอียด ๗๐) พระโอษฐมีสัณฐานอันงามดุจแย้ม ๗๑) กลิ่นพระโอษฐหอมดุจกลิ่นอุบล ๗๒) พระเกสาดำเป็นแสง ๗๓) กลิ่นพระเกสาหอมฟุ้งขจรตลบ ๗๔) พระเกสาหอมดุจกลิ่นโกมลบุบผชาติ ๗๕) พระเกสามีสัณฐานเส้นกลมสลวยทุกเส้น ๗๖) พระเกสาดำสนิททั้งสิ้น ๗๗) พระเกสากอปรด้วยเส้นอันละเอียด ๗๘) เส้นพระเกสามิได้ยุ่งเหยิง ๗๙) เส้นพระเกสาเวียนเป็นทักขิณาวัฏฏทุกๆ เส้น ๘๐) วิจิตรไปด้วยระเบียบพระเกตุมาลา กล่าวคือถ่องแถวแห่งพระรัศมีอันโชตนาการขึ้น ณ เบื้องบนพระอุตมังคสิโรตม์ฯ นิยมเรียกว่า อสีตยานุพยัญชนะ; ดู มหาบุรุษลักษณะ
  3. ภูตคาม : ของเขียวหรือพืชพรรณอันเป็นอยู่กับที่ มี ๕ ชนิด ๑. พืชเกิดจากเหง้า คือ ใช้เหง้าเพาะ เช่น ขมิ้น ๒. พืชเกิดจากต้น คือตอนออกได้จากไม้ต้นทั้งหลาย เช่น ต้นโพธิ์ ๓. พืชเกิดจากข้อ คือใช้ข้อปลูก ได้แก่ไม้ลำ เช่น อ้อย ไม้ไผ่ ๔. พืชเกิดจากยอด คือ ใช้ยอดปักก็เป็น ได้แก่ ผักต่างๆ มีผักชีล้อม ผักบุ้ง เป็นต้น ๕. พืชเกิดจากเมล็ด คือใช้เมล็ดเพาะ ได้แก่ ถั่ว งา ข้าว, แปลตามรูปศัพท์ว่า บ้านของภูต, คู่กับ พีชคาม ภูตคามวรรค หมวดที่ว่าด้วยภูตคาม เป็นวรรคที่ ๒ แห่งปาจิตติยกัณฑ์ในมหาวิภังค์แห่งพระวินัยปิฎก

ETipitaka Pali-Thai Dict : แถว, more than 5 found, display 1-5
  1. ฉฏา : อิต. ความสุกใส; กอง; แถว, แนว
  2. ปถ : (ปุ.) ทาง, หนทาง, ถนน, คลอง, แถว, แนว, ถิ่น. วิ. ปถติ เอตฺถาติ ปโถ. ปถติ อเน นาติ วา ปโถ. อุปฺปนฺนกิจฺจากิจฺเจหิชเนหิ ปถียตีติ วา ปโถ. ปถฺ คติยํ, อ. ถ้ามาคู่กับ อุปถ อุปฺปถ ทางผิด แปล ปถ ว่า ทางถูก.
  3. ปนฺติ : (อิต.) ราวป่า, แถว, แนว, ท่องแถว, สาย, บรรทัด, เส้นบรรทัด, ทาง, หนทาง, ลำดับ, แบบแผน, ระเบียบ, บาลี. ปนฺ วฺย วหาเร ถุติมฺหิ จ, ติ.
  4. มาลา : (อิต.) ระเบียบ, แถว, แนว, ถ่องแถว, โครง, แผน, หมวด, สาขา, สร้อยคอ, สาย, ดอกไม้, พวง, พวงดอกไม้. วิ. มียติ ปริมียตีติ มาลา. มา มาเน, โล, อิตฺถิยํ อา. มลฺ ธารเณ วา, อ. มา ภมรา ลสนฺติ เอตฺถ ปิวเนนาติ วา มาลา, มาปุพฺโพ, ลสฺ กนฺติยํ, กฺวฺ ลบที่สุดธาตุ.
  5. เลข : ป. สิ่งที่เขียน, ปากกา, ดินสอ; แถว, แนว
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : แถว, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : แถว, 1 found, display 1-1
  1. งา (ถั่ว) : ติลํ

(0.1202 sec)