Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แบบ , then บบ, แบบ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แบบ, 43 found, display 1-43
  1. กม : (ปุ.) กระบวน, แบบ, ลำดับ. กมุ อิจฺฉา- กนฺตีสุ, อ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ความก้าวไป. กมุ ปทวิกฺเขเป.
  2. นย : (ปุ.) ภาวะเป็นเครื่องนำไป วิ. นยติ เอเตนาติ นโย. ภาวะอัน... ย่อมนำไป วิ. นียตีติ นโย. การนำ, การนำไป, การดำเนินไป, การแนะนำ, การสั่ง, คำสั่ง, ความไป, ความเป็นไป, ความดำเนินไป, ความควร, ความสมควร, ความชอบ, ความถูกต้อง, ความสมเหตุสมผล, ความสมเหตุผล, ความคาดคะเน, อาการ, อุบาย, เล่ห์เหลี่ยม, วิธี, ทาง, แบบ, แบบอย่าง, นัย ( ข้อความข้อเค้า เค้าความใจความ เนื้อความ). วิ. นยนํ ปวตตนํ คมนํ วา นโย. นิ นี นย. วา นยเน, อ. ส. นย, นาย.
  3. นิยาม : (ปุ.) การกำหนด, ความกำหนด, เหตุ เป็นเครื่องกำหนด, ทาง, หนทาง, มรรค, แบบ, อย่าง, วิธี, ทำนอง. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, โณ. ไทยใช้นิยามเป็นกิริยาใน ความหมายว่า กำหนดหรือจำกัดความหมายที่แน่นอน หรือให้ความหมายอย่าง กะทัดรัด.
  4. พิมฺพ : (ปุ.) รูป, รูปเปรียบ, แบบ, พรรณะ. วมุ อุคฺครเณ, โพ. แปลง ว เป็น พ แปลง อ เป็น อิ.
  5. วิธิ : ป. การทรงไว้อย่างวิเศษ; แบบ, กฎ, ธรรมเนียม
  6. อนุกมอนุกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปตาม, การก้าวไป, ความก้าวไป, ฯลฯ, สาย, กระบวน, แบบ, ลำดับ.วิ.อนุรูโปกโมอนุกโมอนุกฺกโมวา.ส. อนุกรฺม
  7. อนุกม อนุกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปตาม, การก้าว ไป, ความก้าวไป, ฯลฯ, สาย, กระบวน, แบบ, ลำดับ. วิ. อนุรูโป กโม อนุกโม อนุกฺกโม วา. ส. อนุกรฺม
  8. อนุปุพฺพี : (อิต.) กระบวน, แบบ, ฉบับ, แบบฉบับ, ลำดับ.
  9. กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
  10. กมฺมวิธิ : (ปุ.) แบบอย่างแห่งการทำ, วิธี ดำเนินการ, พิธีดำเนินการ. ส. กรฺมวิธิ.
  11. คติ. : (อิต.) ภพเป็นที่ไปของสัตว์ (มีกามภพ เป็นต้น), ภูมิอันสัตว์พึงไป, ภูมิเป็นที่ไป ของสัตว์. วิ. สุกตทุกฺกตกมฺมวเสน คนฺตพฺ- พาติ คติ. ความหมดจด, ความสละสลวย, ความเป็นอยู่, ความรู้, ความสำเร็จ, ความตกลง(ลงเอย), ที่เป็นที่อยู่, ที่อาศัยแบบ, แบบอย่าง, ลักษณะ, กำเนิด, ความเกิด, คดี (เรื่อง ความที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), การส่ง, การไป, การเป็นไป, การดำเนิน, การดำเนินไป, การไป, การเคลื่อน, การถึง, การบรรลุ, ทาง, ทางไป, ทางดำเนิน, ทาง ดำเนินไป, อัชฌาสัย. วิ. คมนํ คติ. ส. คติ.
  12. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  13. จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
  14. ทสฺสิต : ๑. กิต. (อันเขา)แสดงแล้ว; ๒. ค. ผู้ (มีเครื่องแบบ) ปรากฏแล้ว, ผู้เตรียมเครื่องรบพร้อมสรรพแล้ว, ผู้สวมเกราะแล้ว
  15. ทานทายี : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งทาน, ผู้ให้ซึ่งทานโดย ปกติ, ผู้มีอันให้ซึ่งทานเป็นปกติ, ผู้มีปกติให้ซึ่งทาน. ณีปัจ. วิเคราะห์พึงเลียนแบบศัพท์ ธมฺมจารี.
  16. ทิฏฺฐานุคติ : (อิต.) อันเป็นไปตามซึ่งความยินดี, ฯลฯ, อันเป็นไปตามซึ่งความเห็น, อันเป็นไปตามซึ่งทิฎฐิ, ความดูเยี่ยงด้วยสามารถแห่งทิฎฐิ, ความดำเนินตามซึ่ง สิ่งอันปรากฏ, แบบอย่าง.
  17. ธมฺมจกฺก : (นปุ.) ธรรมเพียงดังจักร, ล้อคือ ธรรม, ลูกล้อคือธรรม , ธรรมจักร. เรียก พระธรรมเทศนา ซึ่งพระพุทธเจ้าเทศน์ ครั้งแรกว่า พระธรรมจักร เป็นคำเรียก แบบย่อ.
  18. ธมฺมวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งธรรม, ฯลฯ. คำแปล อีก และ วิ. เลียนแบบ ธมฺมจารีง
  19. ธมฺมาลปน : นป. การร้องเรียกกันด้วยคำอันสมควร, การเรียกกันในแบบที่ถูกต้องตามธรรม
  20. นาวิกโยธิน : (ปุ.) นาวิกโยธิน ชื่อทหารเรือ ที่ประจำการเป็นพลรบฝ่ายบก คือเป็น ทหารเรือแต่อยู่บนบกและฝึกการรบแบบ ทหารราบ. นาวิกโยธ+อิน ปัจ.
  21. นิกฺกาม นิกาม : (วิ.) มีความใคร่ออกแล้ว วิ. นิกฺขนฺโต กาโม ยสฺมา โส นิกฺกาโม. ไม่มี ความใคร่ วิ. นตฺถิ กาโม เอตสฺสาติ นิกฺกาโม. ออกแล้วจากความใคร่ วิ. กาเหมิ นิกฺขนฺโต นิกฺกาโม. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง. ความหมาย อย่างสูง หมายเอาความตั้งใจทำความเพียรเพื่อละกิเลส โดยไม่ห่วงกายและ ชีวิตแบบคนบริโภคกามคุณห่วง.
  22. นิติ : (อิต.) แบบ, แบบแผน, แบบอย่าง, กระบวน ขบวน (แบบแผน), ประเพณี, กฎหมาย, นิติ, นีติ, เนติ. นิ นเย, ติ.
  23. นิพฺพตฺตาปน : นป. การถอดแบบ, การถ่ายทอดเอาไว้, การสืบพันธุ์
  24. นิยมน : (นปุ.) การกำหนด, การห้ามไว้, การทำให้ถูกต้องตามแบบ. อุ ปัจ.
  25. ปทุมวฺยูห : ป. ยุทธวิธีแบบหนึ่งซึ่งมีการจัดพลรบเป็นแนวป้องกันรูปวงกลมซ้อนกันเป็นชั้นๆ
  26. ปเทส : (ปุ.) การเหยียดนิ้วหัวแม่มือและ นิ้วกลางออกให้ตรง, คืบ ชื่อมาตราวัด ระยะแบบโบราณ ๑๒ นิ้ว เป็น ๑ คืบ. ปปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, โณ.
  27. มโนคติ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ไปของใจ, ความไปของใจ, ความรู้แห่งใจ, ความสำเร็จแห่งใจ, แบบอย่างแห่งใจ, ความคิด.
  28. มุทฺทา : (อิต.) ตรา, ตราประทับ, เครื่องสำหรับตีตรา, เครื่องหมาย, รอย, แหวน, แหวนตรา, พิมพ์ (รูปแบบ), ลัญจกร.
  29. ยถารูป : (วิ.) มีรูปอย่างไร, ตามแบบอย่างนั้น, เช่นนั้น.
  30. ยุทธวิธี : (ปุ.) แบบอย่างแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ, วิธีแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ.
  31. วคฺคุลิ : อิต. ไม้แบบใช้สำหรับตีปิงปองหรือลูกคริกเก็ต
  32. อกฺขวิธิ : (ปุ.) แบบแห่งอักษร, แบบอย่างแห่งอักษร, กฎเกณฑ์แห่งอักษร, อักขวิธีตำราว่าด้วยวิธีเขียนและออกเสียงอ่านหนังสือให้ถูกต้อง.
  33. อเถกทิวส : (อัพ. นิบาต) ภายหลัง ณ วันหนึ่ง, ครั้นภายหลัง ณ วันหนึ่ง, ครั้นวันหนึ่ง.บางมติตัดเป็นอถ ครั้งนั้นเอกทิวสํ ในวันหนึ่งนักภาษาจะใช้แบบไหนก็สุดแต่ชอบ.
  34. อนิยม : (วิ.) มิใช่ความกำหนด, มิใช่ความแน่นอน, มิใช่ความชอบ, อนิยม (ไม่ต้องด้วยกฎหรือแบบแผน นอกแบบ).ส.อนิยม.
  35. อนุกโรติ : ก. ทำตาม, เอาอย่าง, เลียนแบบ
  36. อนุการี : ค. ผู้เลียนแบบ, ผู้เอาอย่าง
  37. อนุปุพฺพ : (วิ.) อันเป็นไปตามซึ่งกาลในเบื้องหน้า, อันเป็นไปตามซึ่งธรรมในเบื้องหน้า, เป็นกระบวน, เป็นแบบ, เป็นฉบับ, เป็นแบบฉบับ, เป็นลำดับ.
  38. อนุวิธียติ : ก. เอาตาม, เอาอย่าง, เลียนแบบ
  39. อนุวิธียนา : อิต.การเลียนแบบ,การเอาอย่าง,การตามอย่าง
  40. อเนกปริยาย : (วิ.) มีปริยายมิใช่หนึ่ง, มีประการมิใช่หนึ่ง, หลายแบบ, หลายขบวน, หลายวิธี.
  41. อสฺม : (ปุ.) ศิลา, หิน, ก้อนหิน.วิ. อสฺสเตติอสฺมา. อสุ เขปเน, พยฺาปเน วา, โม.ลบอุแจกวิภัติตามแบบราช.
  42. อาวาสิก : (วิ.) ผู้อยู่ในอาวาส, ฯลฯ. คำแปล อีก และวิ. เลียนแบบ อารญฺญิก.
  43. อุตฺตริ : (วิ.) ยิ่ง, ยอดเยี่ยม, ชั้นเยี่ยม, แปลก, มากขึ้น, อุตริ. คำ อุตริ ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยออกเสียงว่า อุดตะหริ ใช้ใน ความหมายว่า แปลกออกไป นอกแบบ นอกทาง.
  44. [1-43]

(0.0170 sec)