Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แป๊บเดียว, เดียว, แป๊บ , then ดยว, เดียว, ปบ, แป๊บ, แป๊บเดียว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แป๊บเดียว, 100 found, display 1-50
  1. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  2. เอกจฺจ : (วิ.) หนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, บางคน, บางพวก, บางอย่าง, วังเวง, ไม่มีเพื่อน, โดดเดี่ยว, ฯลฯ. เอโก เอว เอกจฺโจ. เอก ศัพท์ จฺจ ปัจ.
  3. เอกคฺคตาจิตฺต : (นปุ.) จิตมีอารมณ์เดียว, ฯลฯ, เอกัคคตาจิต (จิตแนบแน่นอยู่ในอารมณ์ เดียว จิตเป็นอัปปนา).
  4. เอกตฺถ เอกตฺร : (อัพ. นิบาต) ใน...เดียว. ส. เอกตฺร.
  5. เอกภตฺติก : (วิ.) ผู้มีภัตครั้งเดียว, ผู้มีภัตหน เดียว (บริโภคอาหารมื้อเดียวใน ๑ วัน).
  6. กฏจฺฉุมตฺต : ค. มีอาหารเพียงทัพพีเดียว
  7. กากวญฺญา : อิต. หญิงที่มีบุตรคนเดียว
  8. กาจี : ค. ใช้ในรูปปฏิเสธอย่างเดียวเป็น อกาจี = ไม่มีโทษ, ไม่มีที่ติ
  9. กาม : (อัพ. นิบาต) ก็ตาม, ก็ตามที, ส่วนเดียว, โดยส่วนเดียว, แท้, โดยแท้, ผิว่า, แม้, บ้าง.
  10. กาฬติปุ : (นปุ.) ตะกั่ว, เหล็กวิลาศ (พจนาฯ เป็นเหล็กวิลาด), ดีบุก. กาฬปุพฺโพ, ติปฺ ปีณเน, อุ. ติปุ ศัพท์เดียวก็แปลเหมือนกันนี้.
  11. เกวล : (วิ.) เดียว, อย่างเดียว, ทั้งปวง, ทั้งมวล ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, สิ้นเชิง, มาก, ส่วนมาก, จำนวนมาก,ไม่ระคน, ล้วน, ล้วนๆ, แข็งแรง ,มั่นคง, โดยมาก, ไกวัล. เกวฺ ชนเน, อโล.
  12. เกวล : อ. อย่างเดียว, เท่านั้น
  13. ขณิกสมาธิ : (ปุ.) สมาธิชั่วขณะ คือจิตที่ตั้งอยู่ ในอารมณ์เดียวชั่วครั้งชั่วคราว จิตที่นิ่งอยู่ ในอารมณ์เดียวชั่วคราว.
  14. จิตฺเตกคฺค : (นปุ.) จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง, จิตมี อารมณ์เดียว วิ. จิตฺตํ เอกคฺคํ จิตฺเตกคฺคํ วิเสสนุต. กัม.
  15. จีวร : (นปุ.) ผ้า วิ. จียตีติ จีวรํ. จิ จเย, อีวโร. ศัพท์จีวร นี้แปลว่าผ้า หมายถึงผ้าทุกชนิด ไทยนำคำจีวรมาใช้ออกเสียงว่า จีวอน ใช้ ในความหมาย ๒ อย่างคือหมายถึงผ้าของ ภิกษุทั้ง ๓ ผืน ได้แก่ ผ้านุ่ง ผ้าห่ม และ ผ้าสังฆาฏิ ได้ในคำว่า บาตรจีวร หรือไตร จีวรอย่าง ๑ หมายเอาเฉพาะผ้าห่มอย่าง เดียวได้ในคำว่า สบง จีวร สังฆาฏิ นี้อีก อย่าง ๑.
  16. ญตฺติทุติยกมฺม : (นปุ.) กรรมมีวาจาครบสอง ทั้งญัตติ, ญัตติทุติยกรรม คือการสวด – ประกาศมีญัตติเป็นที่สอง กรรมอันทำด้วย ตั้งญัตติแล้วสวดอนุสาวนาหนเดียว.
  17. ญาติสาโลหิต : (ปุ.) พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วย เลือด, พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วยสายเลือด, พี่น้องผู้ร่วมสายเลือด, ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต ( ญาติที่ลืมสกุลมาโดยตรง ญาติสายโลหิตเดียวกัน ). คำ ญาติ ทาง ศาสนาหมายถึงคนที่ไม่ใช่สายเลือดเดียว กัน ก็ได้ ดังบาลีว่า วิสฺสาสาปรมา ญาติ ความคุ้นเคยชื่อว่าเป็นญาติอย่างยิ่ง. (ญาติ สนิท).
  18. ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
  19. ติกิจฺฉน : (นปุ.) การเยียวยา, การรักษา, การพยาบาล. กิตฺ โรคาปยเน, โฉ, ยุ. เทว๎ภาวะ กิ. แปลง กิ เป็น ติ แปลง ตฺ เป็น จฺ ศัพท์หลังลง ฉ ปัจ. ตัวเดียว ไม่ต้อง ลง ยุ ปัจ.
  20. ติกิจฺฉา : (อิต.) การเยียวยา, การรักษา, การพยาบาล. กิตฺ โรคาปยเน, โฉ, ยุ. เทว๎ภาวะ กิ. แปลง กิ เป็น ติ แปลง ตฺ เป็น จฺ ศัพท์หลังลง ฉ ปัจ. ตัวเดียว ไม่ต้อง ลง ยุ ปัจ.
  21. ปเคว : อ. ก่อนทีเดียว, จะกล่าวไปไยถึง
  22. ปจฺเจก : ค. เฉพาะตัว, เฉพาะผู้เดียว
  23. ปวิเวก : ป., ปวิเวกตา อิต. ความสงบสงัด, การแยกออกจากหมู่อยู่แต่ผู้เดียว
  24. พินฺทุมตฺต : ค. (น้ำ) มีประมาณหยาดหนึ่ง, เพียงหยาดเดียว
  25. พินฺทุมตฺต : อ. เพียงหยาดเดียว
  26. พีชี : ค. ผู้มีพืช; ใช้ในคำสมาส เช่น เอกพีวี = ผู้มีพืชคือการเกิดอีกครั้งเดียว
  27. มาล : (ปุ.) เรือนยอดเดียว.
  28. มาฬ : (ปุ.) เรือนยอดเดียว, โรง คือสิ่งที่ปลูกไว้สำหรับอยู่ หรือไว้ของ ไม่มีพื้นไม้. มา มาเน, โฬ.
  29. มุหุตฺต : (ปุ.) กาลขณะหนึ่ง, กาลครู่หนึ่ง, เวลาขณะหนึ่ง, เวลาครู่หนึ่ง, ครู่ (ประเดี๋ยวเดียว), ครู่หนึ่ง. หุจฺฉฺ โกฏิเลฺยฺ, โต. มุอาคมต้นธาตุ ลบ จฺฉฺ แปลง ต เป็น ตฺต.
  30. ยมกปาฏิหาริย : (นปุ.) ปาฏิ หาริย์เป็นคู่, ปาฏิหาริย์ที่ทรงแสดงปราบเดียรถีย์ มีครั้งเดียวเท่านั้น.
  31. สกทาคามี : ป. ผู้จะมาเกิดอีกคราวเดียว - หมายถึงพระอริยบุคคล
  32. สกึ : อ. คราวเดียว
  33. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  34. สุกฺขวิปสฺสก : (วิ.) ผู้เห็นแจ้งในมรรคเครื่องยังกิเลสให้แห้ง, (พระอรหันต์) ผู้สุกขวิปัสสก (สำเร็จพระอรหันต์ด้วยการเจริญวิปัสสนาอย่างเดียว).
  35. สุปณฺณวกสทน : (นปุ.) เรือนเหมือนปีกแห่งครุฑ, เรือนมุงแถบเดียว. สุปิณฺณ+วํก+สทิส+สทนํ.
  36. อจฺจนฺต : (วิ.) จริงๆ, โดยแท้, โดยส่วนเดียว, ล่วงส่วน, ยิ่ง, ยิ่งนัก, เนื่องกัน, ถาวร, มั่นคง, สุดท้าย, มากมาย, ล่วงละเมิด.
  37. อจฺจนฺติก : (ปุ.) เป็นไปโดยส่วนเดียว, เป็นไปล่วงส่วน.
  38. อชฺชณฺห : (ปุ.) วันนี้, วันเดี๋ยวนี้, วันนี้วันเดียว
  39. อญฺญทตฺถหร : (ปุ.) คนนำสิ่งของของเพื่อนไปถ่ายเดียว, คนปอกลอก.
  40. อฑฺฒโยค : (ปุ.) เรือนมุงด้านเดียว, เรือนดุจปีกครุฑ, เพิง (หลังคาด้านเดียวที่มุงลาดไป)วิ.เอกปสฺเสเยวฉทนโตอฑฺเฒนโยโคอฑฺฒโยโค.
  41. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  42. อเนก : (วิ.) มิใช่อันเดียว, มิใช่ชนิดเดียว, มิใช่สิ่งเดียว, มิใช่ส่วนเดียว, มิใช่หนึ่ง, มิใช่น้อย, ไม่น้อย, มาก, มากมาย, นับไม่ได้.ส. อเนก.
  43. อเนกช : (ปุ.) สัตว์ผู้เกิดมิใช่หนเดียว, นก.ส. อเนกช.
  44. อเนกปสงฺค : (วิ.) มีความต้องการมิใช่อย่างเดียว, มีความปราถนามิใช่อย่างเดียว, หลายอย่างตามความต้องการ.
  45. อสกี : (อัพ. นิบาต) เนือง ๆ, บ่อย ๆ, ไม่ใช่ครั้งเดียว.
  46. อสกึ : ก. วิ. ไม่ใช่ครั้งเดียว, บ่อยๆ, เนืองๆ
  47. อาตต : (นปุ.) อาตตะชื่อกลองที่หุ้มหนังด้านเดียวมีกลองกุมภถุนะและกลองคัททรีเป็นต้น, กลองยาว, กลองรำมะนา.วิอาตโนตีติอาตตํ.อาปุพฺโพ, ตนุวิตฺถาเร, อ. แปลงนเป็นต.
  48. อาสนฺทิ : (อิต.) อาสันทิ ชื่อตั่งชนิดหนึ่ง, เก้าอี้สำหรับนั่งคนเดียว, เก้าอี้นอน. อาปุพฺโพ, สทฺ วิสรณคติอวสาเนสุ, อิ, พินฺทฺวาคโม.
  49. อินฺทธนุ : (นปุ.) รุ้ง, สายรุ้ง, รุ้งกินน้ำ. วิ. อินฺทสฺส สกฺกสฺส ธนุ อินฺทธนุ. ส. อินฺทฺร ธนุ. ไทยนำคำนี้มาใช้ตามรูปสันสกฤตว่า อนิทรธนู (ออกเสียงว่า อินทะนู) เป็นชื่อ ของเครื่องประดับบ่าทั้งสองข้าง เป็นผ้า เนื้อ เดียวกับเสื้อ เย็บติดกับเสื้อ รูปเรียวเล็กน้อย ด้านทางคอมีรูสำหรับร้อยลูกกระดุม อีกอย่างหนึ่ง ทำเป็นธนูแข็งติดเครื่องหมายยศทั้งสองข้าง. และเป็นชื่อของลายขอบ ที่เป็นกระหนก.
  50. อุทฺธก : (ปุ.) อุทธกะ ชื่อกลองชนิดหนึ่ง, กลองหน้าเดียว. วิ. อุทฺธํ กายติ สทฺทายตีติ อุทฺธโก. อุคฺคจฺฉตีติ วา อุทฺธโก. อุปุพฺโพ, คมฺ คติยํ. โก, คมสฺส โธ.
  51. [1-50] | 51-100

(0.0707 sec)