Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แสดงท่าทาง, ท่าทาง, แสดง , then ทาทาง, ท่าทาง, สดง, สดงทาทาง, แสดง, แสดงท่าทาง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แสดงท่าทาง, 202 found, display 1-50
  1. กิริยา กฺริยา : (อิต.) การทำ, ความทำ, อาการ (ท่าทาง), กิริยา กริยา คำแสดงอาการของนามหรือสัพพนาม เป็นคำพูดส่วน หนึ่งในบาลีไวยากรณ์. วิ. กตฺตพฺพาติ กิริยา กฺริยา วา, กรณํ วา กิริยา กฺริยา วา. ไทยใช้ กริยา. ส. กฺริยา.
  2. อภินย : (ปุ.) การนำไปยิ่ง, การนำไปเฉพาะ.อภิปุพฺโพ, นีนเย, อ.การแสดงท่าทาง, การแสดงละคร, การแสดงกล.วิ.ปสฺสนฺ-ตานํอภิมุขํนยนํอภินโย.อภิปุพฺโพ, นีปาปุณเนโพธเนวา, อ.ส.อภินย.
  3. อาการก : นป. ลักษณะ, ท่าทาง, มรรยาท, อาการ, เหตุ
  4. อิงฺค : (ปุ.) อาการ, ท่าทาง, ความเคลื่อนไหว, ความอัศจรรย์, ความรู้. อิงฺคฺคติยํ, อ.ส.อิงฺคฺ.
  5. กิตฺเตติ : ก. ยกย่อง, สรรเสริญ, ประกาศคุณ; บอก, แสดง
  6. ขายน : (วิ.) ประกาศ, แสดง, ปรากฏ. ขา ปกาสเน. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. นามกิตก์.
  7. ทิสติ : ก. ชี้, แสดง
  8. นฏติ : ก. ฟ้อนรำ, เต้นรำ, แสดง
  9. นิทฺทิฏฐ : ค. ชี้แจง, แสดง, อธิบาย
  10. นิทสฺสติ : ก. ชี้แจง, แสดง, อธิบาย
  11. ปกิตฺเตติ : ก. สรรเสริญ, แสดง, พูด
  12. ปทีเปติ : ก. ส่อง, ส่งแสง, จุด (ประทีป), แสดง, อธิบาย, ชี้ชัด
  13. ปาวทติ : ก. พูด, บอก, แสดง
  14. วฺยญฺชยติ : ก. ชี้แจง, แสดง
  15. สวณฺเณติ : ก. อธิบาย, แสดง
  16. อติทิสติ : ก. ชี้แจง, แสดง, อธิบาย
  17. อาจิกฺขติ : ก. บอก, แสดง, แจ้ง, กล่าว
  18. อุจฺจารณ : (วิ.) เปล่ง, เทสนา, ชี้แจง, แถลง, บรรยาย, แสดง, สวด. อุปุพฺโพ, จรฺ คติยํ, ยุ.
  19. อุทฺทิสติ : ก. ชี้แจง, แสดง, นัดหมาย, แต่งตั้ง, บัญญัติ, ประกาศ, เสนอ, อุทิศ
  20. อุปทิสติ : ก. ชี้แจง, แสดง, แนะนำ
  21. อุปทิสน : นป. ชี้แจง, แสดง, แนะนำ
  22. โอจิกฺขติ : ก. บอก, แสดง
  23. กิริย กฺริย : (นปุ.) การทำ, ความทำ, อาการ (ท่าทาง), กิริยา, กริยา. วิ. กรณียํ กิริยํ. กิริยา วา กิริยํ. กรฺ ธาตุ ริริย ปัจ. ลบ รฺรฺ ของปัจ. รูปฯ ๕๘๕ ศัพท์หลัง ลบ อ ที่ ก และลบ อิ ตัวต้นของ ปัจ. หรือลง อิย ปัจ.
  24. อากปฺป : (ปุ.) มรรยาทอัน...กำหนดยิ่ง, มรรยาทเครื่องกำหนดยิ่ง, มรรยาทเครื่องสำเร็จ, ความกำหนด, ความสำเร็จ.อาบทหน้ากปฺปฺธาตุในความกำหนดสำเร็จอ.ปัจ. การตกแต่งให้งาม, การตกแต่งให้สวยงาม, การแต่งตัวดี, อาการ, ท่าทาง. กปุธาตุในความอาจสามารถควรสมควรอหรือณปัจซ้อนปฺ.ส.อากลฺป.
  25. อิงฺคิต : (ปุ. นปุ.) อาการ, ท่าทาง. อิงฺคฺ คติยํ, โต, อิอาคโม.
  26. อิริยา : (อิต.) ความเป็นไป, ฯลฯ. ความเคลื่อนไหว, กิริยา, ท่าทาง. อิริยฺ ธาตุ อ ปัจ. ส. อีรฺยา.
  27. อุทฺทสฺเสติ : ก. แสดง (ตน), แสดงตัว, ปรากฏตัว, เปิดเผย, แสดงความประสงค์
  28. อาการ : (ปุ.) การทำยิ่ง, ความทำโดยยิ่ง, มรรยาทเครื่องทำโดยยิ่ง, ความเป็นอยู่, การณะ, สัณฐาน, ส่วน, ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย, วิธี, ทำนอง, ท่าทาง.วิ.อากรณํอากาโร.ส.อาการ.
  29. กกฺกาเรติ : ก. ทำเสียงกักๆ , แสดงความสะอิดเอียน
  30. กถกถา กถงฺกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว ว่าอันว่าอะไร, ฯลฯ, ถ้อยคำแสดงความสงสัย, ความสงสัย. วิ. กถ มิท มิติ กถยติ ยาย สา กถํกถา.
  31. กถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว, วาจาเป็น เครื่องกล่าวแสดง, คำพูด, คำกล่าว , คำ อธิบาย, ข้อประพันธ์, เรื่อง, กถา (สมุด หรือหนังสือที่แต่งขึ้น นิยายที่สำเร็จด้วย การแต่งขึ้น และมีความยืดยาว), ประพันธ กถาศาสตร์. วิ. กเถติ เอตายาติ กถา. กถียตีติ วา กถา. กถยเตติ วา กถา. กถนํ วา กถา. กถฺ กถเน วากฺยพนฺธเน จ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. กถา.
  32. กถี : ค. ผู้กล่าว, ผู้แสดง
  33. กมฺมวาจา : (อิต.) กรรมวาจา คือคำกล่าว แสดงงานที่สงฆ์จะต้องทำ คำประกาศกิจ การในท่ามกลางสงฆ์ในพิธีของสงฆ์. ส. กรฺมวาจา.
  34. กายกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสัตว์ทำแล้วด้วยกาย, กรรมอันบุคคลทำแล้วด้วยกาย, วิ. กาเยน กตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. การทำด้วยกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมอันไปแล้ว ในกายทวาร วิ. กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมทางกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กายกรรม. กายกรรมที่ใช้ใน ภาษาไทย บางครั้งใช้ในความหมายว่าดัด ตนให้แข็งแรงด้วยท่าทางต่าง ๆ.
  35. เกฏุภ : (นปุ.) เกฏุภศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วยกิริยา และเป็นชื่อของศาสตร์ที่แสดงลักษณะของ โครงฉันท์ กาพย์ วิ. กิฎนฺติ กวโย โกสลฺลํ พนฺธเนสุ เอเตนาติ เกฎุภํ. กิฏฺ คติยํ, อโภ, อิสฺเส, อสฺสุจ. อถวา, กิฏฺปุพฺโพ, อภฺ ปูรเณ, อ.
  36. โกปิน โกปีน : (นปุ.) ผ้าเปลือกไม้, ผ้าปิดของลับ, กรรมที่ไม่ควรทำ, ความลับ, ของลับ. มาตุคาโม ฉวสฺส มาสกรูปสฺส การณา โกปินํ ทสฺสติ. มาตุคาม แสดงของลับ เพราะเหตุปห่งทรัพย์ซึ่งเป็นดุจซากศพ. ไตร. ๓/๓๓.
  37. ขิปีต : ๑. นป. การจาม, การแสดงการดูถูกโดยวิธีย่นจมูก; ๒. กิต. ขว้างไปแล้ว
  38. คิริย : ป. ชื่อนักแสดงละครพวกหนึ่ง
  39. คุณนาม : (ปุ.) ชื่ออันแสดงความดี, คุณนาม คือนามที่แสดงลักษณะของนามนามให้ รู้ว่าดีหรือชั่วเป็นต้น.
  40. คุณสทฺท : (ปุ.) คำแสดงชั้นของนามนาม. คำ คุณ, คุณศัพท์ (คำวิเสสนะ คำวิเศษณ์ คือคำที่แสดงลักษณะของนามนาม).
  41. จิตฺตสาลา : อิต. ศาลาอันวิจิตร, ศาลาที่มีภาพเขียนสวยงาม, โรงแสดงภาพ
  42. จิตฺตาคาร : นป. เรือนอันวิจิตร, เรือนที่มีภาพเขียนสวยงาม, อาคารแสดงภาพ
  43. จุณฺณียปท : (นปุ.) บทบาลีเล็กน้อย, จุณณียบท คือบทบาลีที่ยกขึ้นแสดงแต่เล็กน้อยก่อนที่ จะแสดงเนื้อความพิศดาร.
  44. เจลุกฺเขป : ป. การยกขึ้นซึ่งผ้า, การโบกผ้า (แสดงความพอใจ)
  45. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  46. เฉทนกปาจิตฺติยา : (อิต.) เฉทนกปาจิตตีย์ ชื่ออาบัติปาจิตตีย์ ที่ต้องให้ตัดของที่ทำ เกินกำหนด (ประมาณ) ออกเสียก่อนจึง แสดงอาบัติตก คือจึงจะพ้นจากอาบัติ.
  47. ชยภูมิ : (อิต.) แผ่นดินอันแสดงถึงชัยชนะ, พื้นที่อันมีชัย, ชัยภูมิ ( ทำเลที่เหมาะ). ส. ชยภูมิ.
  48. ชาตก : (นปุ.) ชาตกะ ชื่อองค์ที่ ๗ ของ นวัง – คสัตถุสาสน์ แสดงเรื่องที่เกิดแล้วในชาต ก่อนๆ ชาตปุพฺโพ, เก สทฺเท, อ.
  49. ชายาชีว : ป. นักแสดง
  50. ฏฏฺฏรี : (ปุ.) คนตลก, คนตลกคะนอง, จำอวด ( การแสดงเป็นหมู่ โดยใช้ถ้อยคำทำให้ ขบขัน). ฏลฺ เวลมฺเพ, อี. เทวภาวะ ฏ ซ้อน ฏฺ แปลง ล เป็น ร.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-202

(0.0478 sec)