Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แห่ง , then หง, แห่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แห่ง, 1275 found, display 1-50
  1. กลา : (อิต.) กลา คือส่วน ๑ ใน ๑๖ ส่วน แห่ง ดวงจันทร์ วิ. กลียเต เอกาทินา สํขฺยายเตติ กลา. กลฺ สํขฺยาเณ, อ. เศษ, ส่วน, เสี้ยว, ส่วนแบ่งของเวลา, ศิลปะ.
  2. กุกฺกุตฺถก กุกุตฺถก : (ปุ.) นกกวัก, ไก่ป่า. กุสฺ สทฺเท,ถโก, ทฺวิตฺตํ, กุสสฺส สสฺส โต(แปลง ส แห่ง กุส เป็น ต). ศัพท์ต้นซ้อน กฺ.
  3. เกกร : (ปุ.) คนตาเหล่, คนตาหลิ่ว, คนตาส่อน. วิ. กุจฺฉิตํ กโรตีติ เกกโร. กุปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, อุสฺเส (แปลง อุ แห่ง กุ เป็น เอ). สฺ เกกร.
  4. เขตต : (นปุ.) ภริยา, สรีระ, ตน, แดน, แคว้น, นา, ไร่, ไร่นา, ที่, ที่ดิน, ทุ่ง, ทุ่งนา, เขต. วิ. พีชานิ ขิปิยนฺตีติ เขตฺตํ. พีชานิ ขิปนฺตฺ- ยสฺมินฺติ วา เขตฺตํ. ขิปฺ เปรเณ, โต, ปการสฺส ตตฺตํ. ขิตฺตํ พิชํ มหปฺผลภาวกร- เณน ตายตีติ วา เขตฺตํ. ขิตฺตปุพฺโพ, ตา ปาลเน, โต, อิสฺเส, ตการทฺวยโลโป (ลบ ตฺต แห่ง ขิตฺต) ที่แปล เขตฺต ว่า ภริยานั้น เพราะเป็นที่งอกงามของพืช คือ บุตร. ส. กฺษตร.
  5. ติกปาจิตฺติย : (นปุ. อิต.) ติกปาจิตตีย์ คือ ปาจิตตีย์ ๓ ตัว ในสิกขาบทเดียวกัน คือ ขอจีวรจากบุคคลมิใช่ญาติ ๑ บุคคลนั้น มิได้ปวารณาไว้ ๑ ขอในสมัยที่มิได้ ทรงอนุญาตไว้ ๑ ดูสิกขาบทที่ ๖ แห่ง จีวรวรรค.
  6. ปุเรกฺขาร : (ปุ.) อันกระทำในเบื้องหน้า, การกระทำในเบื้องหน้า, การห้อมล้อม, ความนับถือ. ปุร+กรฺ+ณ ปัจฺ แปลง กรฺ เป็น ขรฺ ทีฆะ ลบ ณฺ คงวิภัติของบทหน้าไว้ ซ้อน กฺ รูปฯ ๕๖๖. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๒๔ ตั้ง ปุรา+กรฺ+ร ปัจจฺ เอา อา แห่ง ปุรา เป็น เอ.
  7. อุคฺคตฺถน : (นปุ.) เครื่องประดับทรวง. วิ. คาวีนํ ถนาการตฺตา คตฺถนํ. โอสฺสตฺตํ (แปลง โอ แห่ง โค ศัพท์ เป็น อ). ต เมว อุตฺตมตฺตา อุคฺคตฺถนํ. แปลว่า เครื่อง ประดับหน้า, เครื่องประดับหน้าผาก, เครื่องประดับไหล่ บ้าง.
  8. อุณฺหคู อุณฺหสิ : (ปุ.) พระอาทิตย์ วิ. อุณฺหา คาโว รสฺมิโย เอตสฺสาติ อุณฺหคู, แปลง โอ แห่ง โค เป็น อู. อุณฺหา รํสิโย เอตสฺสาติ อุณฺหสิ. ลบ รํ.
  9. อุสฺโสฬฺหิ : (อิต.) ความเพียรยิ่ง วิ. อุ ปพาฬฺหํ ทุกฺกรกมฺมํ สหติ ยายาติ อุสฺโสฬหิ. อุปุพฺ โพ, สห ปสหเน, โฬฺห, สหสฺส โส. อุสฺ สาหานํ อูหาติ วา อุสฺโสฬฺหิ. อุสฺสาห+อูหา แปลง อา ที่ศัพท์ อุสฺสาห เป็น โอ และ ลบ ห ลบ อู แห่ง อูหา แปลง หฺ เป็น ฬฺห อี อิต. รัสสะ เป็น อิ ฎีกาอภิฯ ไม่ รัสสะ ได้รูปเป็น อุสฺโสฬฺหี วิเคราะห์แรก ฎีกาอภิฯ แปลง สห เป็น โสฬฺห.
  10. นตฺถิภาว : (ปุ.) ความที่แห่ง... ไม่มีอยู่, ภาวะ แห่ง...ไม่มีอยู่, ความไม่มี.
  11. ปริเทวิตตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่ง...เป็นผู้ ร้องไห้แล้ว, ฯลฯ. ปริเทวิต+ตฺต ปัจ. แปล ปริเทวิต เป็น กิริยากิตก์. ความเป็น แห่ง...เป็นผู้ร้องไห้, ฯลฯ. แปล ปริเทวิต เป็นนาม.
  12. กกุธภณฺฑ : (นปุ.) กกุธภัณฑ์ ชื่อของใช้อัน เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นพระราชามี ๕ อย่างคือ มหาพิชัยมงกุฎ ๑ พระแสง ขรรค์ชัยศรี ๑ ธารพระกร ๑ วาลวีชนี ๑ ฉลองพระบาท ๑.
  13. กงฺขาธมฺม : ป. สภาวะคือความสงสัยแห่งใจ
  14. กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
  15. กฏิปริโยสาน : นป. ที่สุดแห่งบั้นเอว, ก้น
  16. กฏุกญฺจกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี จิตหดหู่โดยความเป็นจิตเผ็ดร้อน.
  17. กฐินขนฺธก : ป. กฐินขันธ์, ขันธ์ที่ ๗ ของมหาวรรคแห่งพระวินัย, วิภังค์
  18. กณฺฏก : (ปุ.) ข้าศึก, หนาม, เงี่ยง, ความชูชัน แห่งขน, ขนชูชัน, อวัยวะแห่งต้นไม้?
  19. กณฺฐ : (ปุ.) อวัยวะสำหรับออกเสียง, อวัยวะ สำหรับกล่าว. กณฺ สทฺเท, โฐ. อวัยวะยัง วัตถุมีข้าวเป็นต้น ให้ล่วงลงไป วิ. โอทนา ทีนิ กาเมตีติ กณฺโฐ. กมฺ ปทวิกฺเขเป, โฐ. อวัยวะเป็นที่ตั้งแห่งศีรษะ วิ. กํ ติฏฺฐติ เอตฺถาติ กณฺโฐ. กปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ. อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ. คอ, ลำคอ, ศอ, กัณฐ์, กรรฐ์. ส. กณฺฐ, กรฺณ.
  20. กณฺณิกามณฺฑล : นป. มณฑลแห่งช่อฟ้า
  21. กตญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทำแล้วแก่ตน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุพการีชนทำแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้กตัญญู, ความเป็นผู้กตัญญู. วิ. กตญฺญุสฺส ภาโว กตญฺญุตา. รัสสะ อู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจ. รูปฯ ๓๗๑. ความกตัญญู ลง ตา ปัจ. สกัด. มีสำนวนแปลอีก ดู กตญฺญู.
  22. กตฺถจิ : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในที่ ไหน, ในที่แห่งไร.
  23. กตภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง.............นั้น เป็น....อัน....ทำแล้ว, ความเป็นแห่ง....นั้น อัน...ทำแล้ว, ความเป็นแห่ง...อัน...ทำแล้ว.
  24. กนฺทร : (ปุ.) ส่วนแห่งภูเขา อันน้ำเซาะ, ซอก, ซอกเขา, ถ้ำ, ลำธาร. วิ. เกน อุทเกน ทรียตีติ กนฺทโร. กปุพฺโพ, ทรฺ วิทารเณ, อ. ส. กนฺทร.
  25. กนฺทรา : (อิต.) ส่วนแห่งภูเขา อันน้ำเซาะ, ซอก, ซอกเขา, ถ้ำ, ลำธาร. วิ. เกน อุทเกน ทรียตีติ กนฺทโร. กปุพฺโพ, ทรฺ วิทารเณ, อ. ส. กนฺทร.
  26. กปฺปกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นไปแห่งกัป, ขัยกัป, ขัยกัลป์. วิ. กปฺโป จ โส ขโย จาติ กปฺปกฺขโย. ซ้อน กฺ.
  27. กปฺปนิพฺพตฺต : ค. ผู้เกิดตั้งแต่กาลเริ่มต้นแห่งกัป
  28. กปฺปปริวตฺต : นป. การหมุนเวียนแห่งกัป, ความเจริญแห่งกัป, ความสิ้นสุดแห่งโลก
  29. กปฺปสตสหสฺสปูริตปารมี : (วิ.) ผู้มีบารมีอัน ให้เต็มแล้วตลอดแสนแห่งกัป. เป็น ทุ.ตัป. มี ฉ.ตัป. และ ต.ตุล. เป็นท้อง.
  30. กปฺปาวสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่งกัป, กาลสุดแห่งกัป, ที่สุดแห่งกัป, กาลเป็นที่ สุดแห่งกัป, กัลปาวสาน. ส. กลฺปาวสาน.
  31. กมณฺฑ : (ปุ.) ความใสแห่งน้ำ วิ. กสฺส มณฺโฑ ปสนฺนภาโว กมณฺโฑ.
  32. กมฺโพชก : ๑. ป. ชื่อของชนบทแห่งหนึ่ง; ๒. ค. ชาวกัมโพช
  33. กมฺมกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งกรรม
  34. กมฺมคติ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ไปแห่งกรรม, ความเป็นไปแห่งกรรม, ทางดำเนินแห่งกรรม, ส. กรฺมคติ.
  35. กมฺมฎฐ าน : (นปุ.) การตั้งอยู่แห่งการงาน, ที่ตั้งแห่งการงาน, อารมณ์เป็นที่ตั้งแห่ง การงาน, การงานอันเป็นที่ตั้งแห่งการบรรลุคุณวิเศษ, กัมมัฏฐาน กรรมฐานชื่อ ของการทำงานทางใจ มี ๒ อย่าง คือ สมถกัมมัฏฐาน ๑ วิปัสสนากัมมัฏฐาน ๑. วิ. กมฺมสฺส ฐานํ กมฺมฏฺฐานํ. กมฺมํ คุณวิเสสคมนสฺส ฐานํ กมฺมฏฐานํ วา. ซ้อน ฏฺ.
  36. กมฺมนฺตฏฐาน : นป. ที่เป็นที่ตั้งแห่งการทำงาน, สถานที่ทำงาน
  37. กมฺมนฺตสมฺปทา : อิต. การถึงพร้อมด้วยการงาน, ความสำเร็จแห่งการงาน
  38. กมฺมนิมิตฺต : นป. กรรมนิมิต, เครื่องหมายแห่งการกระทำ
  39. กมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรม, ทางเกิดของ กรรม, คลองแห่งกรรม, กรรมอันเป็น คลอง, กรรมบถ ชื่อธรรมหมวดหนึ่งมี ๑๐ ข้อ มีทั้งฝ่ายกุศลและอกุศล.
  40. กมฺมพล : นป. กำลังแห่งกรรม, อำนาจของกรรม
  41. กมฺมวฏฏ : (นปุ.) ความวนด้วยอำนาจแห่ง กรรม, ความวนแห่งกรรม, การท่องเที่ยว ไปด้วยอำนาจแห่งกรรม, การท่องเที่ยวไป ด้วยอำนาจแห่งผลของกรรม, วนคือกรรม.
  42. กมฺมวิธิ : (ปุ.) แบบอย่างแห่งการทำ, วิธี ดำเนินการ, พิธีดำเนินการ. ส. กรฺมวิธิ.
  43. กมฺมวิสุทฺธิ : อิต. ความบริสุทธิ์แห่งกรรม
  44. กมฺมวิเสส : ป. ความวิเศษแห่งกรรม, ความแตกต่างแห่งกรรม
  45. กมฺมเวค : ป. กำลังแห่งกรรม, ความเร็วแห่งกรรม
  46. กมฺมโวสฺสคฺค : ป. ความแตกต่างแห่งกรรม, การจำแนกแห่งกรรม
  47. กมฺมสมฺปตฺติ : (อิต.) การถึงพร้อมแห่งกรรม, ความถึงพร้อมแห่งกรรม,สมบัติของกรรม, การถึงพร้อมแห่งการงาน, ความพิจารณา การงาน, ความตรวจตราการงาน.
  48. กมฺมสฺสกตา : (อิต.) ความที่แห่งสัตว์เป็นผู้มี กรรมเป็นของตน.
  49. กมฺมสฺสกตาญ าณ : (นปุ.) ความรู้ในความที่ แห่งสัตว์เป็นผู้มีกรรมเป็นของตน.
  50. กมฺมาภิสงฺขาร : (ปุ.) สภาพผู้ปรุงแต่งคือกรรม, การปรุงแต่งขึ้นด้วยกรรม, การปรุงแต่ง ขึ้นด้วยอำนาจแห่งกรรม.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1275

(0.1027 sec)