Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แอ่น , then อน, แอ่น .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แอ่น, 81 found, display 1-50
  1. อน : (นปุ.) เกวียน, เลื่อน.อนุปาณเน, อ. อถวา, นตฺถินาสายสฺสาติอนํ.น+นาสาลบสารัสสะอาที่นาเป็นอแปลงนอุปสรรคเป็นอ.
  2. อานาเมติ : ก. ให้น้อมลง, เอนลง, แอ่นลง
  3. อนติจริยา : (อิต.) การไม่ประพฤตินอกใจ.
  4. อนติจาริณี : (อิต.) หญิงผู้ไม่ประพฤตินอกใจ.
  5. อนติมานี : (วิ.) หามานะมิได้, ไม่มีมานะ.
  6. อนติริตฺต : (วิ.) น้อย, ขาดแคลน, มิใช่เดน, ไม่เป็นเดน.
  7. อนนุคิทฺธ : (วิ.) มิได้กำหนัดยินดีต่อบุคคลผู้นำสักการะมาบูชาตน, มิได้กำหนัดยินดี.
  8. อนนุจฺฉวิก : (วิ.) อันไม่สมควร.
  9. อนนุตาปิย : (นปุ.) กรรมมิใช่กรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อนในภายหลัง.
  10. อนนุรูป : (นปุ.) กรรมไม่เป็นไปตามซึ่งรูป.
  11. อนนุวชฺช : (วิ.) อัน...ไม่พึงติเตียน.น+อนุ+วทฺ+ณฺยปัจ.
  12. อนปทาน : (วิ.) มีมารยาทไม่สมควร. น+อปทาน
  13. อนเปกฺข : (วิ.) เฉยเมย.
  14. อนโวสิต : ค. ไม่สมบูรณ์, ไม่สำเร็จ
  15. อนสน : นป. การอดอาหาร, การไม่ได้กินอาหาร
  16. อนสิตฺวาน : กิต. ไม่ได้กินแล้ว, อดอยากแล้ว
  17. อนสุยฺย : กิต. ไม่บ่น, ไม่ริษยา
  18. อนสุโรป : ป. ความไม่โกรธ, ความไม่เกลียด
  19. อนสูยก : ค. ซึ่งไม่บ่น, อันไม่ริษยา
  20. โอน : (วิ.) หย่อน, พร่อง, ไม่เต็ม, ถอย. อูนฺ ปริหานิเย, โณ.
  21. อณุ อนุ : (วิ.) น้อย, เล็ก, น้อยมาก, เล็กมาก, ละเอียด, ละเอียดมาก. อณฺ คติยํ, อุ. ศัพท์หลัง แปลง ณุ เป็น นุ.
  22. อนุ : (อัพ. อุปสรรค)น้อย, ภายหลัง, ตาม, เนืองๆ, บ่อยๆ, ต่ำ.ส. อนุ.
  23. อนฺเ ตปุริก : (ปุ.) บุคคลผู้อยู่ภายในแห่งบุรี, ข้าราชการในสำนัก, ข้าราชการในพระราชสำนัก.
  24. อิน : (ปุ.) พระอาทิตย์, นาย, สามี, ผัว, เจ้า. วิ. เอสิ อิสฺสรตฺต มคมาสีติ อิโน. อิ คมเน, อิโน, โน วา ส. อิน.
  25. อูน, อูนก : ค. หย่อน, พร่อง
  26. เอน : ส. นี้, คนนี้, สิ่งนี้
  27. กิรณ : (ปุ.) รัศมี, แสง. วิ. กิรติ ติมิรนฺติ กิรโณ. กิรฺ วิกฺเขเป, กิรติ ปตฺถรตีติ วา กิร โณ. กิรฺ ปสารเณ. อภิฯ ลง อน ปัจ. แปลง น เป็น ณ รูปฯ ลง ยุ ปัจ.
  28. กุชฺฌน : (นปุ.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  29. กุชฺฌนา : (อิต.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  30. ฉิชฺชน : (วิ.) ขาด, ทะลุ, แตก, สลาย, เสียหาย, ผิด. ฉิทฺ ธาตุ ในความตัด, ฯลฯ. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  31. ชคฺคน : (นปุ.) การกวาด, การเช็ด, การถู, การทำความสะอาด. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, ยุ. แปลง ม เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ช แปลง ชฺช ท้ายธาตุเป็น คฺค แปลง ยุ เป็น อน.
  32. ตสฺสน : (นปุ.) ความกระหาย, ความระหาย, ความกระหายน้ำ. ความอยากเพื่ออันดื่ม, ความอยากเพื่อจะดื่ม, ความอยากจะดื่ม. ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน.
  33. ทปฺปณ ทปฺปน : (นปุ.) แว่น, กระจก, วิ. ทิปฺปติ เอตฺถาติ ทปฺปโณ ทปฺปโน วา. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น ทิปฺย แปลง ปฺย เป็น ปฺป ยุ เป็น อน ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
  34. นจฺจน : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อนรำ. นตฺ คตฺตวิมาเน, ยุ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน.
  35. นจฺจาปน : (วิ.) ให้ฟ้อนอยู่. นตฺ ธาตุ ย ปัจ. ประจำธาตุ ณาเป ปัจ. เหตุ. ยุ ปัจ. แปลง ตฺย เป็น จฺจ ลบ ณฺ และ เอ แปลง ยุ เป็น อน.
  36. นฏน นฏฺฏ นตฺตน : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ. ศัพท์ที่ ๑, ๒ นฎ นตฺยํ. ศะพท์ตัน ยุ ปัจ. ศัพท์ที่ ๒ อ ปัจ. และแปลง ฏ เป็น ฏฺฏ ศัพท์ที่ ๓ นตฺ คตฺตวิมาเน. ลง ย ปัจ. ประจำธาตุ และ ยุ ปัจ. นามกิตก์ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน. ส. นรฺตน, นฤดี.
  37. นิปชฺชน : (นปุ.) การถึง, การนอน, นิปุพโพ, ปทฺ คติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  38. นิพฺพิชฺฌน : (นปุ.) การเจาะออก, ความเจาะ ออก, ความตรัสรู้, ความบรรลุ. นิปุพฺโพ, วิธ. วิชฺฌเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  39. ปมชฺชน : (นปุ.) ความมัวเมา, ความประมาท. ปปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท. ย ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  40. ปยุชฺฌน : (นปุ.) การต่อสู้, การรบ, การต่อสู้ กัน, การรบกัน. ปปุพฺโพ, ยุชฺ สมฺปหาเร, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ชฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  41. ปริตฺตาณ : (นปุ.) พุทธมนต์เป็นเครื่องต้านทาน, ความต้านทาน, ความป้องกัน, ความรักษา, ความรักษาโดยรอบ, พุทธมนต์เป็นเครื่อง รักษาโดยรอบ ( ทุกด้าน ). ปริ+ ตา+ณ ปัจ. ไม่ลบ ณ หรือลง ยุ ปัจ. แปลงเป็น อน แปลง น เป็น ณ ซ้อน ตฺ.
  42. ปริตสฺสนา : (อิต.) ความอยากจัด, ความทะยานอยาก. ปริปุพฺโพ, ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน อาอิต. เป็น นปุ บ้าง.
  43. โปกฺขรณี : (อิต.) ตระพัง (บ่อน้ำ กระพัง. สะพังก็เรียก), ตระพังน้ำ (บ่อน้ำ), สระน้ำ, สระน้ำที่ตกแต่งสวยงาม, สระสี่เหลี่ยมจตุรัส, สระมีบัว, สระบัว, สระโบกขรณี. วิ. โปกฺขรํ ชลํ ปทุมญฺจ, ตํโยคา โปกฺขรณี. โปกฺขร+อน ปัจ. แปลง น เป็น ณ อี อิต.
  44. พุชฺฌน : (นปุ.) ความรู้, ความรู้ตลอด, ความเข้าใจ. พุธฺ โพธเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  45. ภิชฺชน : (นปุ.) อันแตก, อันทำลาย, อันสลาย, การแตก, ฯลฯ. ภิทิ เภทเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหวดธาตุ ลบ อิ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  46. ภุวน : (นปุ.) โลก, ฯลฯ, ฐานะ. ภู สติตายํ, ยุ. แปลง อู เป็น อุว ยุ เป็น อน รูปฯ ๖๓๕. เป็น ภูวน ก็มี.
  47. มชฺชน : (นปุ.) ความเมา, ฯลฯ. วิ. มทนํ มชฺชนํ. มทฺ อุมฺมาเท, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  48. มญฺญนา : (อิต.) กิริยาที่ถือตัว, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความถือตัว. มนฺ ญาเณ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง นฺย เป็น ญฺญ ยุ เป็น อน. แปลว่า ความสำคัญความเข้าใจ ด้วย.
  49. มหานส : (นปุ.) โรงมีวัตถุอันบุคคลพึงกินมาก, สถานที่หุง, โรงครัว, เรือนครัว, ครัว. วิ. มหนฺตานิ พหูนิ อสิตพฺพานิ ภวนฺติ เอตฺถาติ มหานสํ. มหนฺตปุพฺโพ, อสฺ ภกฺขเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อน แล้ว แปร น ไว้หน้า ส. และแปลง มหนฺต เป็น มหา.
  50. มิชฺชน : (นปุ.) ความเจือ, ความเยื่อใย, ความเอ็นดู, ความรัก, ความสนิท. มิทฺ สิเนหเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  51. [1-50] | 51-81

(0.0163 sec)