Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โจทก์ , then จทก, โจทก, โจทก์ .

Eng-Thai Lexitron Dict : โจทก์, 6 found, display 1-6
  1. prosecutor : (N) ; โจทก์ ; Related:ผู้ฟ้องร้อง, ผู้กล่าวหา ; Syn:accuser
  2. prosecutor : (N) ; ผู้ฟ้องร้อง ; Related:โจทก์
  3. suitor : (N) ; ผู้ฟ้องร้อง ; Related:โจทก์
  4. accuser : (N) ; ผู้กล่าวหา ; Related:โจทก์, ผู้ฟ้อง, ผู้ฟ้องร้อง ; Syn:prosecutor, plaintiff, objector
  5. libel : (N) ; ถ้อยแถลงของโจทก์ ; Related:แถลงการณ์

Thai-Eng Lexitron Dict : โจทก์, more than 7 found, display 1-7
  1. โจทก์ : (N) ; plaintiff ; Related:complainant, persecutor ; Ant:จำเลย ; Def:บุคคลผู้ฟ้องคดีต่อศาล ; Samp:ศาลวินิจฉัยว่าข้อคัดค้านของโจทก์ไม่ถูกต้อง ; Unit:คน
  2. จำเลย : (N) ; defendant ; Related:plaintiff, accused ; Ant:โจทก์ ; Def:บุคคลผู้ถูกฟ้องต่อศาลแล้ว ; Samp:เขาตกเป็นจำเลยในข้อหาลักพาเด็ก ; Unit:คน
  3. นำสืบ : (V) ; attest ; Related:bring witness or evidence to court, serve as proof of ; Def:นำพยานหลักฐานมาแสดงต่อศาลเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงที่กล่าวอ้าง ; Samp:โจทก์นำสืบว่า จำเลยหลีกเลี่ยงภาษีเงินได้
  4. เพิกถอน : (V) ; withdraw ; Related:revoke, repeal, cancel, rescind, annul ; Syn:ยกเลิก, เลิก, ล้มเลิก ; Def:ยกเลิกหรือไม่ใช้อีกต่อไป ; Samp:โจทก์ให้เพิกถอนคำสั่งยึดไม้ โดยอ้างว่าได้ซื้อไม้โดยมีใบเบิกทางที่ถูกต้อง
  5. แก้ต่าง : (V) ; hold a brief ; Related:put up a plea, defend, plead ; Ant:ว่าต่าง ; Def:ว่าความแทนจำเลย, ใช้คู่กับ ว่าต่าง ซึ่งหมายถึง ว่าความแทนโจทก์ ; Samp:ทนายจะช่วยแก้ต่างข้อกล่าวหา
  6. ขึ้นศาล : (V) ; go to law ; Related:go to court, appear in court ; Syn:ขึ้นโรงขึ้นศาล, ไปศาล ; Def:ไปร่วมอยู่ในที่พิจารณาหรือพิพากษาคดีโดยผู้พิพากษา ซึ่งอาจมีฐานะเป็นจำเลยหรือโจทก์ เป็นต้น ; Samp:จำเลยต้องขึ้นศาลวันนี้เพื่อฟังคำตัดสิน
  7. คำฟ้อง : (N) ; accusation ; Related:charge, indictment, plaint ; Def:ข้อกล่าวหาที่โจทก์เสนอต่อศาล กล่าวหาบุคคลใดบุคคลหนึ่ง โดยมีคำขอให้ศาลพิจารณาพิพากษา ; Samp:เขาขอให้ทางราชการรับผู้ยื่นคำฟ้องกลับเข้ารับราชการตามเดิม
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : โจทก์, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : โจทก์, more than 5 found, display 1-5
  1. โจทก์ : [โจด] น. (กฎ) บุคคลผู้ฟ้องคดีต่อศาล; ผู้กล่าวหา. (เดิมเขียนเป็นโจทย์). (ป., ส.).
  2. แก้ต่าง : (กฎ) ก. ว่าความแทนจําเลย, ใช้คู่กับ ว่าต่าง ซึ่งหมายถึง ว่าความแทนโจทก์.
  3. คดีอนาถา : (กฎ) น. คดีแพ่งที่คู่ความอ้างว่าเป็นคนยากจนไม่สามารถเสีย ค่าธรรมเนียมศาลในศาลชั้นต้น หรือชั้นอุทธรณ์ หรือชั้นฎีกา เมื่อศาลได้ ไต่สวนเป็นที่เชื่อได้ว่าคู่ความนั้นเป็นคนยากจน ไม่มีทรัพย์สินพอจะเสีย ค่าธรรมเนียม ศาลจะอนุญาตให้คู่ความนั้นฟ้องหรือต่อสู้คดีอย่างคนอนาถา ได้ แต่การขอเช่นว่านี้ถ้าผู้ขอเป็นโจทก์ ผู้ขอจะต้องแสดงให้เป็นที่พอใจศาล ด้วยว่าคดีของตนมีมูลที่จะฟ้องร้อง หรือในกรณีอุทธรณ์หรือฎีกาศาลเห็นว่า มีเหตุผลอันสมควรที่จะอุทธรณ์หรือฎีกาแล้วแต่กรณี.
  4. คำฟ้อง : (กฎ) น. กระบวนพิจารณาใด ๆ ที่โจทก์ได้เสนอข้อหาต่อศาล ไม่ว่าจะเสนอด้วยวาจาหรือทำเป็นหนังสือ ไม่ว่าจะเสนอต่อศาลชั้นต้น หรือชั้นอุทธรณ์หรือฎีกา ไม่ว่าจะได้เสนอในขณะที่เริ่มคดีโดยคำฟ้อง หรือคำร้องขอหรือเสนอในภายหลังโดยคำฟ้องเพิ่มเติมหรือแก้ไขหรือ ฟ้องแย้ง หรือโดยสอดเข้ามาในคดี ไม่ว่าด้วยสมัครใจหรือถูกบังคับ หรือโดยมีคำขอให้พิจารณาใหม่.
  5. คำฟ้องแย้ง : (กฎ) น. คําฟ้องที่จําเลยฟ้องโจทก์มาในคําให้การในเรื่อง ที่เกี่ยวกับคําฟ้องเดิมของโจทก์, ฟ้องแย้ง ก็ว่า เช่น ยกฟ้องแย้ง.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : โจทก์, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : โจทก์, 3 found, display 1-3
  1. โจทก์ : ผู้ฟ้องร้อง
  2. สติวินัย : ระเบียบยกเอาสติขึ้นเป็นหลักได้แก่กิริยาที่สงฆ์สวดประกาศให้สมมติแก่พระอรหันต์ ว่าเป็นผู้มีสติเต็มที่ เพื่อระงับอนุวาทาธิกรณ์ ที่มีผู้โจทท่านด้วยศีลวิบัติ หมายความว่าจำเลยเป็นพระอรหันต์ สงฆ์เห็นว่าไม่เป็นฐานะที่จำเลยจะทำการล่วงละเมิดดังโจทก์กล่าวหา จึงสวดกรรมวาจาประกาศความข้อนี้ไว้ เรียกว่าให้สติวินัย แล้วยกฟ้องของโจทก์เสียภายหลังจำเลยจะถูกผู้อื่นโจทด้วยอาบัติอย่างนั้นอีก ก็ไม่ต้องพิจารณา ให้อธิกรณ์ระงับด้วยสติวินัย
  3. โอกาส : ช่อง, ที่ว่าง, ทาง,เวลาที่เหมาะ, จังหวะ; ในวิธีระงับอนุวาทาธิกรณ์ มีระเบียบว่า ก่อนจะกล่าวคำโจทนา คือคำฟ้องขึ้นต่อหน้าสงฆ์ โจทก์พึงขอโอกาสต่อจำเลย คำขอโอกาสว่า “กโรตุ เม อายสฺมา โอกาสํ, อหนฺตํ วตฺตุกาโม” แปลว่า “ขอท่านจงทำโอกาสแก่ข้าพเจ้าๆ ใคร่จะกล่าวกะท่าน” ถ้าโจทโดยไม่ขอโอกาส ต้องอาบัติทุกกฏ คำให้โอกาสท่านไม่ได้แสดงไว้ อาจใช้ว่า “กโรมิ อายสฺมโต โอกาสํ” แปลว่า “ข้าพเจ้าทำโอกาสแก่ท่าน”; ภิกษุพร้อมด้วยองค์ ๕ แม้จะขอให้ทำโอกาสก็ไม่ควรทำ (คือไม่ควรให้โอกาส) กล่าวคือ เป็นผู้มีความประพฤติทางกายไม่บริสุทธิ์ มีความประพฤติทางวาจาไม่บริสุทธิ์ มีอาชีวะไม่บริสุทธิ์ เป็นผู้เขลา ถูกซักเข้า ไม่อาจให้คำตอบขอที่ซัก, องค์ ๕ อีกหมวดหนึ่งว่า เป็นอลัชชีเป็นพาล มิใช่ปกตัตตะ กล่าวด้วยปรารถนาจะกำจัด มิใช่เป็นผู้มีความปรารถนา ในอันให้ออกจากอาบัติ

ETipitaka Pali-Thai Dict : โจทก์, 2 found, display 1-2
  1. โจทก : (ปุ.) อาจารย์ผู้โจทก์, ชนผู้ทักท้วง, ชน ผู้ถาม, ชนผู้กล่าวหา, คนผู้ฟ้อง, โจทก์. จุทฺ สํโจทเน, ณฺวุ.
  2. โจเทตุ : ค., ป. ดู โจทก

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : โจทก์, not found

(0.1266 sec)