Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โต .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โต, 711 found, display 1-50
  1. โตเทยฺย : ป. พราหมณ์ชื่อโตเทยยะ
  2. โตรณ : (นปุ.) เสาค่าย, เสาระเนียด, ทวาร, โขนทวาร (ประตูป่า ประตูป่าที่ทำตาม ตำราพราหมณ์), เสาไต้, ซุ้ม. วิ. ถวนฺตา รณนฺตฺยเตรติโตรณํ. ถิ+รณ แปลง อิ เป็น โอ ถฺ เป็น ตฺ. อุปริมาลาทิยุตฺตโสภณ- ถมฺภทฺวย มุภยโต นิกฺขมิตฺวา ยํ พหิทฺวารํ กปฺปิยเต ตํ โตรณํ. ตุรฺ สีฆคติยํ, ยุ. ส. โตรณ.
  3. โตลน : (นปุ.) การชั่งน้ำหนัก, การวัดกัน, การเทียบกัน, ตุลฺ อุมฺมาเณ, ยุ. ส. โตลน.
  4. โตสนา : อิต., โตสาปน นป. การทำให้ร่าเริงหรือให้ความยินดี
  5. โตทน : (นปุ.) การเบียดเบียน, การรบกวน, การทิ่มแทง, ความเบียดเบียน, ฯลฯ, ความเจ็บ, ปฏัก.ตุทฺ พฺยถเน, ยุ. ส.โตทน.
  6. โตมริก : ค. ดู โตมรคห
  7. โตสน : (วิ.) ยินดี, พอใจ, แช่มชื่น, ให้ยินดี, ฯลฯ.
  8. โตสาเปติ, โตเสติ : ก. ให้ร่าเริง, ให้ยินดี, ให้พอใจ
  9. กุโต : (อัพ. นิบาต) แต่...ไหน, จาก...ไหน, แต่ ไหน, จากไหน, แต่ที่ไหน, จากที่ไหน, เพราะเหตุไร. กึ ศัพท์ โต ปัจ. แปลง กึ เป็น กุ. กุตฺต (นปุ.?) การทำ. กรฺ+ต ปัจ. แปลง กรฺ เป็น กุ ซ้อน ตฺ.
  10. ปริโต : (อัพ. นิบาต) โดย...ทั้งปวง, แต่...ทั้ง ปวง, ใน...ทั้งปวง, โดยรอบ. ปริ+โต ปัจ. รูปฯ ๒๘๒ ว่า โต ปัจ. ลงในอรรถ ตติยา ปัญจมี และ สัตตมี.
  11. อิโต : (อัพ. นิบาต) แต่...นี้, แต่...ข้างนี้, แต่นี้, แต่ข้างนี้, ข้างนี้. อิม ศัพท์ โต ปัจ. แปลง อิม เป็น อิ.
  12. เอโต : (อัพ. นิบาต) แต่นั่น, แต่นั้น. เอต+โต ปัจ แปลง เอต เป็น เอ. ข้างโน้น. อมุ+โต แปลง อมุ เป็น เอ.
  13. กฏฺฐ : (นปุ.) ไม้, ตัวไม้, ฟืน. วิ. กาสเต อคฺคินา ทิปฺปเตติ กฏฺฐํ. กาสฺ ทิตฺติยํ, โต, สสฺส โฏ, รสฺโส, ตสฺส โฐ, ตสฺส ฎฺโฐ วา. ถ้าใช้นัย หลังคือ แปลง ต เป็น ฏฺฐ ก็ลบที่สุดธาตุคือ สุ. กสติ ยาติ วินาสตีติ วา กฏฺฐํ. กสฺ คติยํ, โต. กัจฯ ๖๗๒ วิ. กฏิตพฺพํ มทฺทิตพฺพนฺติ กฏฺฐํ. กฏฺ มทฺทเน, โฐ.
  14. กิณฺณ : (นปุ.) พืชแห่งสุรา, ส่าเหล้า, แป้งข้าว หมาก, แป้งเหล้า. วิ. กิรนฺติ นานาทพฺพานิ มิสฺสี ภวนฺตยสฺสนฺติ กิณฺณํ. กิรฺ วิกิรเณ, โต, ณฺณาเทโส, รฺโลโป.
  15. กิลิฏฺฐ : (ไตรลิงค์) ถ้อยคำผิดเบื้องต้นเบื้อง ปลาย, คำไม่สมต้นสมปลาย, คำขัดแย้ง กัน, ความเศร้าหมอง. กิลิสฺ อุปตาเป, โต, ฏฺฐาเทโส, สฺโลโป.
  16. กิลินฺน : (วิ.) เปียก, ชื้น, ชุ่ม, ซึม, เยิ้ม, หม่นหมอง. กิลิทฺ อทฺทภาเว, โต, อินฺนา เทโส, ทฺโลโป.
  17. กุนฺต : (ปุ.) หลาว, ทวน, กุ วิย อสิ วิย ปจฺจา มิตฺตานํ สรีรํ ตียตีติ กุนฺโต. กุปุพฺโพ, ติ เฉทเน, อ, นิคฺคหิตาโม. กมตีติ วา กุนฺโต. กมุ ปทวิกฺเขเป, โต, ตสฺส นฺตาเทโส ธาตฺ วนฺตสฺส โลโป, อสฺสุ, กนฺตฺ เฉทเน วา, อสฺส. ส. กุนฺต.
  18. เขตต : (นปุ.) ภริยา, สรีระ, ตน, แดน, แคว้น, นา, ไร่, ไร่นา, ที่, ที่ดิน, ทุ่ง, ทุ่งนา, เขต. วิ. พีชานิ ขิปิยนฺตีติ เขตฺตํ. พีชานิ ขิปนฺตฺ- ยสฺมินฺติ วา เขตฺตํ. ขิปฺ เปรเณ, โต, ปการสฺส ตตฺตํ. ขิตฺตํ พิชํ มหปฺผลภาวกร- เณน ตายตีติ วา เขตฺตํ. ขิตฺตปุพฺโพ, ตา ปาลเน, โต, อิสฺเส, ตการทฺวยโลโป (ลบ ตฺต แห่ง ขิตฺต) ที่แปล เขตฺต ว่า ภริยานั้น เพราะเป็นที่งอกงามของพืช คือ บุตร. ส. กฺษตร.
  19. คต : (นปุ.) การเดิน, การไป, ความไป, ความเป็นไป. คมฺ คติยํ, โต, มฺโลโป ต ปัจ. ลง ในภาวะ.
  20. คตฺต : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ตัว, รูป (ร่าง กาย). วิ. คตฺฉติ คณฺหาติ วา กุสลากุสล เมเตนาติ คตฺตํ. คมฺ คติยํ, คหฺ อุปาทาเน วา, โต. คุปฺ สํวรเณ วา, โต, อุการสฺส อกาโร, แปลง ต เป็น ตฺต ลบที่สุดธาตุ.
  21. คทิต : (นปุ.) ถ้อยคำ. คทฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, โต, อิอาคโม.
  22. คีต : (นปุ.) การขับ, การร้อง, การขับร้อง, การร้องเพลง, การเล่นขับร้อง, การเล่นร้อง เพลง. วิ. คายนํ คีตํ. เค สทฺเท, โต, เอ การสฺส อีกาโร. รูปฯ ๖๐๗ แปลง เค เป็น คี. เพลงอันบุคคลพึงขับ วิ. เคตพฺพนฺตีติ คีติ.
  23. คุฬฺห : (วิ.) สอดแนม, ซ่อน, ปกปิด. คุหุ สํวรเณ, โต, ทีฆะเป็น คุฬฺห บ้าง.
  24. โคตฺต โคตฺร : (นปุ.) แซ่, เผ่า, พันธุ์, เหง้า, เหล่า, เหล่ากอ, เชื้อ, เชื้อสาย, สกุล, วงศ์, โคตร. วิ. โค วุจฺจติ อภิธานํ พุทฺธิ จ, เต ตายตีติ โคตฺตํ. ควํ สทฺทํ ตายตีติ วา โคตฺตํ. โคปุพฺโพ, ตา ปาลเน, อ, ตฺสํ โยโค. รูปฯ ๕๕๒ วิ. โคปตีติ โคตฺตํ. คุปฺ รกฺขเณ สํวรเณ วา, โต, ปสฺส โต. กัจฯ ๖๕๖ รูปฯ ๖๕๐ ลง ต, ตฺรณฺ ปัจ.
  25. ฆต : (นปุ.) ของเหลวที่เคี่ยวกลั่น, เนยใส, เปรียง. วิ. ฆรตีติ ฆตํ. ฆรฺ เสจเน, โต, รฺโลโป.
  26. จริต : (นปุ.) การเที่ยวไป (ของจิต) ความประ พฤติ, เรื่องราว, นิสัย, พื้น, พื้นเพ, พื้นเพ ของจิต, จริต, (พื้นเพของจิต ของแต่ละบุค คล ซึ่งจะหนักไปในทางใดทางหนึ่งในหก ทาง ดูจริต ๖ ในหลักธรรมะ) จรฺ จรเณ, โต, อิอาคโม.
  27. จิตา : (อิต.) เชิงตะกอน วิ. จิยฺยเต ยตฺถ สา จิตา. จิ จเย, โต, อิตฺถิยํ อา.
  28. จุทิตก : (ปุ.) คนผู้อันเขาทักท้วง, คนผู้แก้, จำเลย. จุทฺ โจทเน, โต, อิอาคโม. ก สกัด.
  29. เจโตวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยอำนาจ แห่งใจ. ความหลุดพ้นที่มีสมาธิเป็น ปทัฏฐาน คือได้บรรลุฌานมาก่อนแล้วจึง บำเพ็ญวิปัสสนาต่อจนละกิเลสาสวะได้ เรียกว่า เจโตวิมุติ. ลำพังฌาน ไม่สามารถ ละกิเลสาสวะได้เด็ดขาด เป็นแต่สะกดไว้ อย่าเข้าใจผิด.
  30. ฉตฺต ฉตฺร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ร่ม (เครื่องสำหรับกางป้องกันแดดเป็นต้น). วิ. อาตปาทึ ฉาเทตีติ ฉตฺตํ ฉตฺรํ วา. ฉทฺ สํวรเณ อปวารเณ จ, โต, ตฺรโณ. ฉัต ฉัตร ชื่อของเครื่องกกุธภัณฑ์ อย่าง ๑ ใน ๕ อย่าง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของเครื่องสูง ทำเป็นชั้นๆ มีเสาเป็นแกน ชั้นใหญ่อยู่ ข้างล่าง ชั้นถัดขึ้นไปเล็กลงตามลำดับ ทำ ชั้นบ้าง ๕ ชั้นบ้างทำเป็น ๗ ชั้น สำหรับท่านผู้มีเกียรติอย่างสูง สำหรับพระ ราชาทำเป็น ๙ ชั้น ผู้อื่นจะทำเป็น ๙ ชั้น ไม่ได้ ส. ฉตฺร.
  31. ฉมฺภิตตฺต : (นปุ.) ความหวาดหวั่น, ความสะดุ้ง, ความหวาดเสียว, ความครั่นคร้าม. ฉภิ อุตฺราเส, โต, ลงนิคคหิตและอิอาคม ได้ รูปเป็น ฉมฺภิต แล้วลง ตฺต ปัจ. ภาวตัท. สะกัด.
  32. ฉาต : (วิ.) อยาก, อยากข้าว, หิว, อ่อนเพลีย, อิดโรย. ขาทฺ ภกฺขเณ, โต, ขสฺส โฉ, ทฺโลโป. ฉา ขุทายํ วา, โต.
  33. ชีมูต : (ปุ.) ชีมูตะ ชื่อเมฆชื่อ ๑ ใน ๑๑ ชื่อ, เมฆ. วิ. ชีวนํ ชลํ มูตํพทฺธ มเนนาติ ชีมูโต, วนโลโป. โลกานํ วา ชีวิตํ มุนาตีติ ชีมูโต. วิตโลโป, ชีวิตสฺส ชีอาเทโส วา, มุ พนฺธเน , โต, ทีโฆ. สัททนีติ วิ. ชีวนสฺส มูโต ชีมูโต.
  34. ชูต : (ปุ. นปุ.) การเล่นการพนัน, การพนัน, สกา. วิ. ชวติ เถยฺยํ กโรติ เอเตนาติ ชูตํ. ชุ คติชวเน เถยฺเย วา, โต, ทีโฆ.
  35. ญตฺต : (วิ.) ใกล้ วิ. ญายเตติ ญตฺตํ. ญา อวโพธเน, โต, รัสสะ แปลง ต เป็น ตฺต.
  36. ตต : (วิ.) แผ่, แผ่ไป, ขยาย, กว้างขวาง., แพร่หลาย. ตนุ วิตฺถาเร, โต, นฺโลโป.
  37. ตสิตา : (อิต.) ตัณหาผู้ทำความสะดุ้ง, ตัณหา. ตสฺ อุพฺเพเค, โต, อิอาคโม, อิตฺถิยํ อา.
  38. ติตฺต ติตฺตก : (วิ.) ชม, พอ, พอใจ, อิ่มใจ, อิ่มหนำ ( สำราญหรืออิ่มเต็มที่). ติปฺ ปีณเน, โต, ปสฺส โต อถวา, ติสฺ ติตฺติยํ โต, สสฺส โต. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  39. ตุตฺต : (นปุ.) เครื่องแทงโคนหูช้าง, ปฏัก, ประตัก. หตฺถิโน กณฺณมูลวิชฺฌนกณฺฏโก ตุตฺตํ. ตุทฺ วฺยถเน, โต, ทสฺส โต.
  40. ตุริต : (วิ.) รีบ,เร็ว, พลัน, ด่วน. ตรฺ ตรเณ, โต, อสฺสุ, อิอาคโม. ตุรฺ สีฆคติยํ วา, โต, อิอาคโม.
  41. ถนิต : (นปุ.) ฟ้าร้อง. ถนฺ เทวสทฺเท, โต, อิอาคโม. วิ. ถนียเตติ ถนิตํ.
  42. ทกฺขิต ทิกฺขิต : (วิ.) ผู้บวช, ผู้ประพฤติพรต. ทกฺขฺ ทิกฺขฺ วา มุณฺฑิเย, โต, อิอาคโม.
  43. ทยิต : (วิ.) อันพึงใจ, อันพอใจ, อันน่าพึงใจ, อันเป็นที่รัก. ทยฺ อาทาเน, โต, อิอาคโม. ส. ทยิต.
  44. ทาตฺต : (นปุ.) เคียว ชื่อเครื่องมือสำหรับเกี่ยว ข้าวหรือหญ้า วิ. ทนติ อเนนาติ ทาตฺตํ ทา ลเวนา, โต, ทฺวิตฺตํ. ทาติ วีหโย ฉินฺทติ อเนนาติ วา ทาตฺตํ. ทา อวขณฺฑเน. เป็นทาตฺร โดยลง ตฺรณฺ ปัจ. บ้าง. ส. ทาตฺร.
  45. ทุจฺจริต : (นปุ.) ความประพฤติชั่ว, ความประพฤติเสียหาย, บาป. วิ. ทุ กุจฺฉิตํ จริตํ ทุจฺจริตํ. สารัตถทีปนี วิ. ทุฏฐ จริตํ ทุจฺจริตํ. วิเสเสหิ วา ทูสิตํ จริตนฺติ ทุจฺจริตํ. ทูสิต นั้นคือ ทุสฺ โทสเน, โต, อิอาคโม, ทีโฆ. คำ ทุจจริตนี้ ไทยใช้ว่า คดโกง, ฯลฯ. ส. ทุรฺศฺจริต ทุรฺจริต.
  46. ทูต : (ปุ.) บุคคลผู้อัน..ส่งไป, คนนำข่าว, ทูต (ผู้นำข่าวสารไปบอก ผู้นำข้อความไป แจ้งทั้งสองฝ่าย ผู้รับใช้ไปเจรจาแทน). วิ. โย เปสียเต โส ทูโด. ทุ คมเน, โต, ทีโฆ. ส. ทูต.
  47. ธตฺต ธุตฺตก : (ปุ.) นักเลง, นักเลงสภา, นักเลงพนัน. ธุ เถริเย, ธู กมฺปเน วา, โต, รสฺโส.
  48. ธนิฏฺฐา : (อิต.) ธนิฏฐา ธนิษฐา ชื่อดาวฤกษ์ กลุ่มที่ ๒๓ มี ๔ ดวง, ดาวกา, ดาวไซ, ดาวศรวิษฐาก็เรียก. วิ. ธนํ เอสนฺติเอตฺถาติ ธนิฏฺฐา. เอสฺ มคฺคเน, โต, ตสฺส ฏฺโฐ, เอสฺส อตฺตํ. ธนติ วา วิภูติ นิธานํ ธนิฏฺฐา. ฏีกาอภิฯ ส. ธนิษฺฐา.
  49. ธนิต : (วิ.) เป็นไปกับด้วยเสียง, ทำเสียง, เสียงสนั่น. ธนฺ สทฺเท, โต, อิอาคโม.
  50. นทีปูร : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องรัด, เชือกเป็น เครื่องผูก, เชือก, เ ชือกหนัง, ชะเนาะ (ไม้กับเชือกที่ขันบิดให้แน่น). นหฺ พนฺธเน, โต, แปลง ต. เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ อิอาคม.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-711

(0.0583 sec)