Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โลกบาลธรรม, โลกบาล, ธรรม , then ธมฺม, ธรรม, ธรรมะ, ธรรมา, โลกบาล, โลกบาลธรรม, โลกปาล .

Royal Institute Thai-Thai Dict : โลกบาลธรรม, 298 found, display 1-50
  1. โลกบาล : [โลกกะ–] น. หัวหน้าเทวดาในชั้นจาตุมหาราช มีหน้าที่ รักษาโลกในทิศทั้ง ๔ เรียกเต็มว่า ท้าวจตุโลกบาล หรือ ท้าว จัตุโลกบาล คือ ๑. ท้าวธตรฐ จอมภูต หรือจอมคนธรรพ์ รักษาโลก ด้านทิศบูรพาหรือทิศตะวันออก ๒. ท้าววิรุฬหก จอมเทวดา หรือ จอมกุมภัณฑ์ รักษาโลกด้านทิศทักษิณหรือทิศใต้ ๓. ท้าววิรูปักษ์ จอมนาค รักษาโลกด้านทิศประจิมหรือทิศตะวันตก ๔. ท้าวกุเวร จอมยักษ์ รักษาโลกด้านทิศอุดรหรือทิศเหนือ. (ป., ส. โลกปาล).
  2. ธรรม ๑, ธรรม, ธรรม : [ทํา, ทํามะ] น. คุณความดี เช่น เป็นคนมีธรรมะ เป็นคนมีศีลมีธรรม; คําสั่งสอนในศาสนา เช่น แสดงธรรม ฟังธรรม ธรรมะของพระพุทธเจ้า; หลักประพฤติปฏิบัติในศาสนา เช่น ปฏิบัติธรรม ประพฤติธรรม; ความจริง เช่น ได้ดวงตาเห็นธรรม; ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, เช่น ความเป็นธรรมในสังคม; กฎ, กฎเกณฑ์, เช่น ธรรมะแห่งหมู่คณะ; กฎหมาย เช่น ธรรมะระหว่างประเทศ; สิ่งทั้งหลาย, สิ่งของ, เช่น เครื่องไทยธรรม. (ส. ธรฺม; ป. ธมฺม).
  3. ธรรม : น. สมณศักดิ์พระราชาคณะ สูงกว่าชั้นเทพ ตํ่ากว่าชั้นหิรัญบัฏ เรียกว่า ชั้นธรรม เช่น พระธรรมโกศาจารย์ พระธรรมเจดีย์.
  4. ธรรม : คําประกอบท้ายคําที่เป็นนามธรรม เมื่อประกอบแล้วมีความหมายไม่ต่างไป จากคําศัพท์เดิม เช่น วัฒนธรรม อารยธรรม.
  5. ธรรมานุธรรมปฏิบัติ : ดู ธรรมธรรม, ธรรมะ.
  6. ธรรมคุณ : น. ชื่อบทแสดงคุณของพระธรรม มีบาลีขึ้นต้นว่า สฺวากฺขาโต และลงท้ายว่า ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญฺญูหิ. (ส.; ป. ธมฺมคุณ).
  7. ธรรมสังคีติ : น. การสังคายนาธรรม, การร้อยกรองธรรม. (ส. ธรฺม + สํคีติ; ป. ธมฺมสงฺคีติ).
  8. ธรรมสากัจฉา : น. การสนทนาธรรม. (ป. ธมฺมสากจฺฉา).
  9. ธรรมสามี : น. ผู้เป็นเจ้าของธรรม, พระพุทธเจ้า. (ป. ธมฺมสามิ).
  10. ธรรมกาม : น. ผู้ใคร่ธรรม, ผู้นิยมในยุติธรรม. (ส.; ป. ธมฺมกาม).
  11. ธรรมการย์ : น. กิจอันเป็นธรรม, การกุศล, หน้าที่อันสมควร.
  12. ธรรมเกษตร : น. แดนธรรม; คนมีใจกรุณา. (ส.).
  13. ธรรมขันธ์ : น. หมวดธรรม, กองธรรม, ข้อธรรม, (กําหนดข้อธรรมใน พระไตรปิฎกว่ามี ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์). (ส. ธรฺม + ป. ขนฺธ).
  14. ธรรมจรณะ, ธรรมจรรยา : น. การประพฤติถูกธรรม. (ส.). ธรรมจริยา
  15. ธรรมจักษุ : น. ดวงตาคือปัญญาที่รู้เห็นธรรม. (ส.).
  16. ธรรมจาคะ : น. การละธรรม, การละเมิดศาสนา, การทิ้งศาสนา. (ส. ธรฺม + ป. จาค).
  17. ธรรมจินดา : น. การพิจารณาธรรม.
  18. ธรรมเจดีย์ : น. เจดีย์ที่บรรจุพระธรรมที่มักจารลงบนใบลาน, คัมภีร์ที่จารึก พระธรรม เช่น พระไตรปิฎก.
  19. ธรรมทรรศนะ : น. ความเห็นชัดเจนในธรรม. (ส.).
  20. ธรรมธาดา : น. ผู้ทรงธรรม เช่น สมเด็จพระบรมธรรมธาดามหาสัตว์. (ม. ร่ายยาว วนปเวสน์).
  21. ธรรมนิตย์ : น. ผู้เที่ยงธรรม. (ส.).
  22. ธรรมนิยม : น. ความประพฤติที่มีธรรมเป็นที่ตั้ง.
  23. ธรรมนิเวศ : น. การเข้าประพฤติธรรม, การเข้าศาสนา.
  24. ธรรมปฏิรูป, ธรรมประติรูป : น. ธรรมเทียม, สิ่งที่ไม่ใช่ธรรมแท้.
  25. ธรรมยุต : น. ชื่อพระสงฆ์นิกายหนึ่ง, คู่กับมหานิกาย, ธรรมยุติกนิกาย ก็เรียก.
  26. ธรรมยุทธ์ : น. การรบกันในทางธรรม คือ รบกันในทางแข่งขันสร้างสิ่งใด สิ่งหนึ่ง ถ้าใครสร้างได้แล้วก่อนก็ชนะ. (ส.).
  27. ธรรมรัตน์ : น. แก้วคือธรรม. (ส.; ป. ธมฺมรตน).
  28. ธรรมราชา : น. พระราชาแห่งธรรม คือ พระพุทธเจ้า, พระราชาผู้ทรงธรรม, พญายม.
  29. ธรรมสรีระ : น. ร่างหรือที่บรรจุธรรม, เจดีย์ศักดิ์สิทธิ์.
  30. ธรรมสังเวช : น. ความสังเวชโดยธรรม เมื่อเห็นความแตกดับของสังขาร (เป็นอารมณ์ของพระอรหันต์). (ป. ธมฺมสํเวค).
  31. ธรรมสามิสร : [สามิด] น. ผู้เป็นใหญ่ด้วยความเป็นเจ้าของธรรม, พระพุทธเจ้า.
  32. ธรรมสาร : น. สาระแห่งธรรม, แก่นธรรม.
  33. ธรรมบิฐ : น. ธรรมาสน์. (ป. ธมฺม + ปี?).
  34. ธรรมฐิติ : น. การตั้งอยู่แห่งสิ่งที่เป็นเอง. (ป. ธมฺม??ติ).
  35. ธรรมสถิติ : น. ความตั้งอยู่โดยธรรมดา, ความตั้งอยู่แห่งกฎ, ความตั้งอยู่ แห่งยุติธรรม. (ส.; ป. ธมฺม??ติ).
  36. ธรรมนาถ : น. ผู้รักษากฎหมาย. (ส.).
  37. ธรรมนิยา : ม น. ความแน่นอนแห่งธรรมดา คือ พระไตรลักษณ์. (ส.; ป. ธมฺมนิยาม).
  38. โพธิปักขิยธรรม : น. ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้, ธรรม เกื้อกูลแก่ความตรัสรู้มี ๓๗ ประการ. (ป. โพธิปกฺขิยธมฺม).
  39. ธรรมันเตวาสิก : ดู ธรรมธรรม, ธรรมะ.
  40. ธรรมาทิตย์ : ดู ธรรมธรรม, ธรรมะ.
  41. ธรรมธรรม : ดู ธรรมธรรม, ธรรมะ.
  42. ธรรมาธิปไตย : ดู ธรรมธรรม, ธรรมะ.
  43. ธรรมาธิษฐาน : ดู ธรรมธรรม, ธรรมะ.
  44. ธรรมานุสาร : ดู ธรรมธรรม, ธรรมะ.
  45. ธรรมาภิมุข : ดู ธรรมธรรม, ธรรมะ.
  46. ธรรมาภิสมัย : ดู ธรรมธรรม, ธรรมะ.
  47. ธรรมายตนะ : ดู ธรรมธรรม, ธรรมะ.
  48. ธรรมารมณ์ : ดู ธรรมธรรม, ธรรมะ.
  49. ธรรมาสน์ : ดู ธรรมธรรม, ธรรมะ.
  50. ธรรมิก, ธรรมิก- : ดู ธรรมธรรม, ธรรมะ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-298

(0.1372 sec)