Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โศก , then ศก, โศก, โศกา, โสก .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โศก, 31 found, display 1-31
  1. โสก : (วิ.) แห้ง, เหี่ยว, เศร้า, โศก, ผู้โศก, สุจฺ โสเก, โก, จฺโลโป. กัจฯ ๖๖๑.
  2. อาเมณฺฑิต : (นปุ.) อาเมณฑิตพจน์คือคำกล่าวซ้ำๆในเพราะเหตุกลัวโกรธสรรเสริญรีบด่วน แตกตื่น อัศจรรย์ ร่าเริง โศก หรือเลื่อมใสเช่นงู ๆ, พุทโธ ๆ.อาปุพฺโพทฺวตฺติกฺขตฺตุมุจฺจารเณวตฺตติ, เมฑิอุมฺมา-ทเน, โต, อิอาคโม.
  3. ฉณ : (ปุ.) การรื่นเริงเป็นที่ตัดเสียซึ่งความโศก, มหรสพ,มโหรสพ. วิ. ฉินฺทติ โสก เมตฺถาติ ฉโณ. ฉิ เฉพฺน, ยุ, อิสฺสตฺตํ. ใน วิ. ใช้ ฉิทฺ ธาตุแทน เป็น ฉณฺณ บ้าง.
  4. โสกปเรต โสกาภิภูต : (วิ.) ผู้อันความโศกครอบงำแล้ว, ผู้ถูกความโศกครอบงำ.
  5. โสกวิโนทน : นป. การบรรเทาความโศก
  6. โสกสลฺล : นป. ลูกศรคือความโศก
  7. นิสฺโสก : ค. ไม่มีโศก
  8. พลวโสกาภิภูต : (วิ.) ผู้อันความโศกมีกำลังครอบงำแล้ว.
  9. วิโสก : ค. ผู้ไม่เศร้าโศก
  10. อโสก : (วิ.) ผู้ไม่มีความโศก, ผู้ไม่โศก.ส.อโศก
  11. จิตฺตสนฺตาป : นป. ความเร่าร้อนแห่งจิต, ความโศกเศร้าทุกข์ใจ
  12. ทุมฺมน : ค. ผู้มีใจชั่ว, ผู้เสียใจ, ผู้เศร้าโศก
  13. นิสฺสิรีก : ค. ไม่มีสิริ, เคราะห์ร้าย, เศร้าโศก
  14. ปฏิมุจฺจติ : ก. ประสพ, ได้รับ (ความเศร้าโศก)
  15. ปฏิมุญฺจติ : ก. สวม, สวมใส่, ผูก, มัด; ประสพ, ได้รับ (ความเศร้าโศก)
  16. โสจติ : ก. เศร้าโศก
  17. โสจนา : (อิต.) ความแห้ง, ฯลฯ, ความโศก. สุจฺ โสเก, อ, ยุ. ส. โศจน.
  18. โสจ โสจน : (นปุ.) ความแห้ง, ฯลฯ, ความโศก. สุจฺ โสเก, อ, ยุ. ส. โศจน.
  19. อฏฺฏิต : กิต. ๑. ถูกกดขี่ ; ๒. เศร้าโศก, เสียใจ
  20. อนุโสจติ : ก. เศร้าโศกถึง, รำพันถึง
  21. อนุโสจน : นป. ความเศร้าโศก, ความรำพึงถึง
  22. อวมงฺคล : (นปุ.) อวมงคล (ไม่เป็นความเจริญ).เรียกงานทำบุญเกี่ยวกับการตายว่างานอว-มงคล.คือ งานที่ปรารภเหตุที่ทำให้เกิดความเศร้าโศกเสียใจ.
  23. อุปโรทติ : ก. เศร้าโศก, เสียใจ, ร้องคราง
  24. อุร : (ปุ. นปุ.) อก, ทรวง (อก), ทรวงอก (ใช้ในคำกลอน), ชีวิต. อรฺ คมเน, อ, อสฺสุกาโร (แปลง อ อักษรเป็น อุ อักษร). โมคฯ ตั้ง อุสฺ ทาเห. ร ปัจ. ลบ สฺ อธิบายว่า อันความโศกเผาอยู่. บาลีไวยา- กรณ์เป็น ปุ. ส. อุรศฺ อุรสฺ.
  25. โสกาส : (ปุ.) ยุ้ง, ฉาง.
  26. ปฏิจฺจสมุปฺปาท : ป., ปฏิจจสมุปบาท, การที่ธรรมทั้งหลายอาศัยกันและกันเกิดขึ้นร่วมกัน, กฏแห่งธรรมที่ต้องอาศัยกันและกันเกิดขึ้น ซึ่งมีอยู่ ๑๒ ประการ คือ ๑. เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงมีสังขาร ๒. เพราะสังขารเป็นปัจจัย จึงมีวิญญาณ ๓. เพราะวิญญาณเป็นปัจจัย จึงมีนามรูป ๔. เพราะนามรูปเป็นปัจจัย จึงมีสฬายตนะ ๕. เพราะสฬายตนะเป็นปัจจัย จึงมีผัสสะ ๖. เพราะผัสสะเป็นปัจจัย จึงมีเวทนา ๗. เพราะเวทนาเป็นปัจจัย จึงมีตัณหา ๘. เพราะตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน ๙. เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ ๑๐. เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ ๑๑.- ๑๒. เพราะชาติ จึงมีชรา มรณะ โสกะ ปริเทวะ ทุกข์โทมนัส อุปายาส
  27. ปุพฺพกตฺติก : (ปุ.) ปุพพกัตติกะ ชื่อเดือนที่ ๑๑ ทางจันทรคติ, เดือน ๑๑. วิ. จึอสฺสยุชมาโส ปุพฺพกตฺติโก, ปุพฺโพ จ โสกตฺติโก เจติ ปุพฺพกตฺติโก
  28. สุก : (ปุ.) นกแก้ว, นกแขกเต้า, วิ โสกติ มนาเปน คมเนน คจฺฉตีติ สุโก. สุกฺ คติยํ, อ. สุนฺทรํ สุฏฐุ วา มนุสฺสสทฺทํ กายตีติ วา สุโก. สุนฺทรปุพฺโพ, กา สทฺเท, อ.
  29. โสวิทลฺล : (ปุ.) คนใช้สำหรับฝ่ายใน, คนแก่. วิ. โสกํ วินฺทตีติ โสวิทลฺโล. โสกปุพฺโพ, วิทฺ ลาเภ, โล, กโลโป.
  30. อาชานียอาชาเนยฺย : (ปุ.) อาชานียบุคคลอาชาเนยยบุคคล (ผู้ได้รับการอบรมมาดี), ม้าอาชาไนย (มีไหวพริบดี).วิ.อา ภุโสการณาการณํชานาตีติอาชานีโยอาชาเนยฺโยวา.อาบทหน้าญาธาตุนาปัจ. ประจำธาตุและ ณฺยปัจแปลงญา เป็น ชฺแปลงอาที่นาเป็นอีศัพท์หลัง แปลงอีเป็นเอ ซ้อนยฺอกิฯลงอานียหรือ ณฺย ปัจ. ส. อาชาเนย.
  31. อาตปฺป : (ปุ.) ความยังกิเลสให้เร่าร้อน, ความเพียร, ความพยายาม. วิ.อาภุโสกายํจิตฺตญฺจตาเปตีติอาตปฺโป.อาปุพฺโพ, ตปฺสนฺตาเป, โณ, ทฺวิตฺตํ
  32. [1-31]

(0.0549 sec)