Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ใกล้ , then กล, ใกล้ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ใกล้, 211 found, display 1-50
  1. ขลีน : (ปุ. นปุ.) บังเหียนม้า คือเครื่องบังคับม้าให้ไปตามที่ต้องการ ทำด้วยเหล็กหรือไม้ใส่ผ่าปากม้า ที่ปลายมีห่วงสองข้างสำหรับผูกสายบังเหียนโยงไว้ให้ผู้ขี่ถือ, เหล็กผ่าปากม้า. ขลุ (อัพ. นิบาต) ก็, ริม, ใกล้, แท้จริง, ได้ ยินว่า, เขาลือว่า, ห้าม, แล. ลงในอรรถ อนุสสวะ ปฏิเสธ ปรากฏ และ ปทปูรณะ.
  2. มูล : (วิ.) เป็นที่ตั้ง, เป็นที่พึ่ง, เป็นที่อาศัย, เป็นต้น, เป็นเดิม, ใกล้, เป็นทุน, เป็นมูล, เป็นเหตุ, ใหญ่, มูลฺ ปติฏฺฐายํ, อ.
  3. อภิโต : (อัพ. นิบาต) ริม, ใกล้, เฉพาะหน้า, ทั้งสองข้าง, นิบาตลงในอรรถสัตตมี.อภิฯและรูปฯ.
  4. อภิโท : อ. ตรง, ใกล้, จวน
  5. อา : (อัพ. อุปสรรค)ต้อง, ทั่ว, ถึง, พอถึง, จดถึงอุ. อา ปพฺพตา เขตฺตํ.ยิ่ง, ใกล้, มาใกล้, จนถึง, โดยยิ่ง, โดยรอบ, ก่อน, ออก, บน, ปรารถนา, ผูก, จาก, อยู่, เรียก, ถือ, ยาก, น้อย, กลับ, ไม่เลื่อมใส, รบ, ที่อาศัย, รวบรวม, ประมวลมา, เสมอ ๆ, อัศจรรย์, กลับความคือเมื่อนำธาตุแล้วจะกลับความเดิมของธาตุ.
  6. อุป : (อัพ. อุปสรรค) เข้าไป, ใกล้, มั่น, สนิท, สนิธ, รอง, ข้าง, ข้างบน, เหนือ, ยิ่ง, ก่อน, เลว, ต่ำ. อุ. อุปฺขาริยํ โทโณ. โทณะต่ำ กว่า ขาริ. ส. อุป.
  7. อุปจาร : (วิ.) จวน, ใกล้, ใกล้เคียง, เฉียด, ซัดทอด, ใส่ความ.
  8. กล : (ปุ.) เสียงไม่ชัด (แต่เป็นที่ชอบใจ), เสียงอ่อน, เสียงวังเวง, เสียงดังวังเวง (ดนตรี). กลฺ สทฺเท กลิเล วา, อ. อภิฯ เป็น ไตรลิงค์. ส. กล.
  9. กณ : (วิ.) น้อย, ละเอียด, สุขุม, ใกล้. กณฺ สทฺเท, อ. ส. กณ.
  10. กณฺฐ : (วิ.) ใกล้. กณฺฐํ สมีปํ.
  11. ญตฺต : (วิ.) ใกล้ วิ. ญายเตติ ญตฺตํ. ญา อวโพธเน, โต, รัสสะ แปลง ต เป็น ตฺต.
  12. ธุร : (วิ.) หนัก, ใกล้.
  13. อาสนฺน : (วิ.) ใกล้
  14. อุปนฺติก : (วิ.) ใกล้ วิ. อนฺติกภาว มุปคตํ อุปนฺติกํ. อุป+อนฺต+อิก ปัจ.
  15. อุปสงฺกมน : (นปุ.) การเข้าไปใกล้, การเข้า ใกล้. อุป สํ ปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, ยุ.
  16. อวิทูร : (วิ.) ไม่ไกล, ใกล้.ทูรปฏิปกฺขตฺตาอวิทูรํ.
  17. กลิกา : (อิต.) อันใกล้จะบาน, อันจะบาน. กลฺ สํขฺยาเณ, อิโก.
  18. กปฺปหลาหล : นป. ความโกลาหลในกาลใกล้จะสิ้นกัลป์
  19. กุฏุกุญฺจก : ค. ใกล้ชิด, กระชับ, แน่น
  20. โกธสามนฺต : (วิ.) ใกล้ต่อความโกรธ, ฯลฯ.
  21. โกรก : (ปุ. นปุ.) ดอกไม้ใกล้จะบาน. กุรฺ สทฺเท, ณฺวุ.
  22. ครุคพฺภา : (อิต.) หญิงมีครรภ์หนัก, หญิงมี ครรภ์แก่ (ท้องแก่ใกล้คลอด). วิ. ครุ คพฺโภ เอติสฺสาติ ครุคพฺภา.
  23. คามนฺต : ป. บ้าน, เขตบ้าน, แดนบ้าน, ที่ใกล้บ้าน
  24. คามวาสี : ป. ผู้อยู่ในบ้าน, ชาวบ้าน, ผู้อยู่ใกล้บ้าน (ภิกษุ)
  25. คามสามนฺต : นป. ที่รอบๆ บ้าน, ใกล้บ้าน
  26. คามูปจาร : ป. อุปจารแห่งบ้าน, ที่ใกล้บ้าน, ชานบ้าน, นอกบ้าน
  27. จนฺทนิกา : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่ออันเต็มด้วยน้ำไม่ สะอาดใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำ ครำ. วิ. จิตฺตํ ทุโนตีติ จนฺทนิกา จิตฺตปุพฺโพ ทุ หึสายํ. ลง ณุ ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง ณุ เป็น นุ อ ปัจ. นามกิตก์ อิ อาคม ก สกัด ลบ ตฺต แปลง อิ ที่ จิ เป็น อ อาอิต.
  28. จุลฺลุปฏฺฐาก : ป. จุลลุปัฏฐาก, คนรับใช้ประจำตัว, คนรับใช้ใกล้ชิด
  29. ชมฺพาลี ชมฺพาฬี : (อิต.) บ่ออันเต็มด้วยของ ไม่สะอาด, บ่ออันเต็มด้วยของไม่สะอาด ใกล้ประตูบ้าน, บ่อน้ำครำ, แอ่งน้ำครำ, ชมุ อทเน, อโล. ลง พ อักษรสุดธาตุ.
  30. เชตวนโปกฺขรณีตีร : (นปุ.) ฝั่งแห่งสระโบก – ขรณีใกล้พระวิหารเชตวัน.
  31. ตุมฺหมูล : (นปุ.) ที่ใกล้แห่งท่าน, สำนักของ ท่าน, สำนักท่าน.
  32. ทฺวารคาม : ป. หมู่บ้านใกล้ประตูเมือง, หมู่บ้านนอกประตูเมือง
  33. ทินจฺจย : (ปุ.) เย็น (เวลา..), เวลาเย็น, เวลา ใกล้ค่ำ, วิ. ทินานํ อจฺจโย อติกฺกโม อวสานํ วา ทินจฺจโย.
  34. ธุรคาม : ป. หมู่บ้านใกล้ๆ, บ้านใกล้เรือนเคียง
  35. ธุรวิหาร : ป. วิหารที่ใกล้เคียง, วัดที่ใกล้เคียง
  36. นจฺจาสนฺน : (วิ.) ไม่ใกล้นัก, ไม่ชิดนัก. น+ อติ+อาสนฺน. แปลง อติ เป็น จฺจ.
  37. นิกฎ : (วิ.) ใกล้, ริม. วิ. นตฺถิ กโฏ อาวรณ เมตสฺสาติ นิกฏํ. ส. นิกฎ.
  38. นิกฎ, นิกฏฐ : ๑. นป. ที่ใกล้เคียง, บ้านใกล้เรือนเคียง ; ๒. ค. ใกล้, ใกล้เคียง; นำลง
  39. นิกาส : ๑. ป. เพื่อนบ้าน, ที่ใกล้เคียง, ๒. ค. ในคำว่า “สนฺนิกาส = คล้าย, เหมือน, ใกล้เข้าไป”
  40. นิปาน : (นปุ.) ที่ดื่มน้ำของสัตว์, รางน้ำใกล้ สระ. วิ. นิปิวนฺตฺยสฺมินฺติ นิปานํ. นิปุพฺโพ, ปา ปาเน, ยุ. ส. นิปาน.
  41. ปจฺจูส : ป. ใกล้รุ่ง, เช้าตรู่
  42. ปฏฺฏน : นป. ท่า, เมืองท่า, เมืองใกล้เมืองท่า
  43. ปฏิธาวติ : ก. วิ่งกลับไปหา, วิ่งเข้าไปใกล้
  44. ปทฏฺฐาน : (วิ.) เป็นเหตุใกล้.
  45. ปมทาวน : นป. อุทยานใกล้พระราชวัง
  46. ปยิรุปาสติ : ก. เข้าไปนั่งใกล้, เข้าไปคอยรับใช้, คบหา, เคารพ, ยกย่อง; เยี่ยมเยียน
  47. ปยิรุปาสน : นป., - สนา อิต. การเข้าไปนั่งใกล้, การเข้าไปคอยรับใช้, การคบหา, การเคารพนับถือ, การบูชา
  48. ปยิรุปาสิก : ค. ผู้เข้าไปนั่งใกล้, ผู้คอยรับใช้, ผู้คบหา, ผู้บูชา
  49. ปยิรุปาสิต : กิต. (อันเขา) เข้าไปนั่งใกล้แล้ว, ปรนนิบัติแล้ว, เคารพบูชาแล้ว
  50. ปริยุปาสน : (นปุ.) การนั่งใกล้. ปริ + อุปาสน ยฺ อาคม.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-211

(0.0306 sec)