Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ใจ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ใจ, 257 found, display 1-50
  1. ก. : ๑. ป. พระพรหม ; ลม; ไฟ ; ใจ; ๒. นป. หัว, ผม; น้ำ; ๓. ส. ใคร? อะไร? สิ่งไหน?
  2. กมล : (นปุ.) บัว, ดอกบัว, ใจ, กมล กระมล (จากปฐมสมโพธิ). วิ. กํ อลยตีติ กมลํ. กปุพฺโพ, อลฺ วิภูสเน, อ. ส. กมล. กมล
  3. มาน : (ปุ.) การถือตัว, ความถือตัว, ความหยิ่ง, ความเย่อหยิ่ง, ความจองหอง, ความไว้ตัว, ความไว้ยศ, ความแข็ง, ความพยายาม, ความกล้า, ความตั้งใจจริง, ความสำคัญใจ, ใจ, ดวงใจ, จิตใจ. มนฺ ญาเณ, โณ. มาน ปูชายํ, อ.
  4. กนฺต : (วิ.) ดี. งาม, ดีงาม, ดีนัก. พอใจ, รักใคร่, ชอบใจ, เป็นที่พอใจ, เป็นที่ชอบ ใจ. กมุ กนฺติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบ มุ. ส. กนฺต.
  5. มน : (ปุ. นปุ.) สภาพผู้รู้, ธรรมชาตรู้, ใจ. วิ. เอกาย นาฬิกา เอกาย ตุลาย มิณมาโณวิย อารมฺมณํ มินาติ ปริจฺฉินฺทตีติ มโน (นับกำหนดอารมณ์). มนติ ชานาตีติ วา มโน (รู้ ทราบอารมณ์).
  6. มนตา : อิต.ใจ
  7. กกฺกส : (วิ.) ร้าย, หยาบ, หยาบคาย, หยาบ ช้า, ทารุณ, แข็ง, กล้าแข็ง, สาหัส, ไม่เป็น ที่รัก, ไม่เป็นมงคล, ไม่ยังใจให้เอิบอาบ, เปลื่อยเน่า, โทษ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺก โส. กรฺ กรเณ, อโส, รสฺส กตฺตํ. กฺสํโยโค.
  8. กงฺขติ : ก. สงสัย, ลังเลใจ
  9. กงฺขน : นป. ความสงสัย,ความลังเลใจ
  10. กงฺขาธมฺม : ป. สภาวะคือความสงสัยแห่งใจ
  11. กตถทฺธ : ค. ผู้มีใจโหดร้าย
  12. กตพุทฺธิ : ค. ผู้มีใจอันฝึกฝนแล้ว, ผู้ฉลาด
  13. กทร : ๑. ป. ไม้พะยอมขาว, กฤษณา; เลื่อย; ๒. ค. ระทมทุกข์, เศร้าใจ
  14. กปฺปรุกฺข : (ปุ.) ต้นไม้อันยังความปรารถนา ให้สำเร็จ, ต้นไม้อันยังประโยชน์ให้สำเร็จ ดังใจนึก (ปรารถนา), ต้นไม้อันตั้งอยู่ตลอดกัป, ทิพยพฤกษ์, ต้นกัลปพฤกษ์ ชื่อ ต้นไม้ชนิดหนึ่ง จำพวกคูน หรือราชพฤกษ์ ดอกสีชมพู.
  15. กมฺมฎฐ าน : (นปุ.) การตั้งอยู่แห่งการงาน, ที่ตั้งแห่งการงาน, อารมณ์เป็นที่ตั้งแห่ง การงาน, การงานอันเป็นที่ตั้งแห่งการบรรลุคุณวิเศษ, กัมมัฏฐาน กรรมฐานชื่อ ของการทำงานทางใจ มี ๒ อย่าง คือ สมถกัมมัฏฐาน ๑ วิปัสสนากัมมัฏฐาน ๑. วิ. กมฺมสฺส ฐานํ กมฺมฏฺฐานํ. กมฺมํ คุณวิเสสคมนสฺส ฐานํ กมฺมฏฐานํ วา. ซ้อน ฏฺ.
  16. กมฺมโสจน : นป. ความเศร้าใจในกรรมชั่ว
  17. กมฺมารามตา : อิต. ความพอใจใจการงาน, ความเป็นผู้ยินดีในการงาน
  18. กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
  19. กรุณาเวคสมุสฺสาหิตมานาส : (วิ.) ผู้มีฉันทะ มีในใจอันกำลังแห่งกรุณาอันให้อุตสาหะ พร้อมแล้ว. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ส ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ฉ. ตัป. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  20. กวิ : (ปุ.) คนมีปัญญา, คนมีปัญญาดี. วิ. กวยติ กเถตีติ กวิ. กวิ วรฺณเณ, อิ. กุ สทฺเท วา. อภิฯ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจ วิ. กนฺตํ กวตีติ กวิ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจคือ คำอันยังใจให้เอิบ อาบ วิ. กนฺตํ มนาปวจนํ กวตีติ กวิ. กุ สทฺเท. กวฺ กวิ วณฺณายํ วา, อิ. นักปราชญ์ (ในศิลปะการประพันธ์). วิ. กพฺยํ พนฺธตีติ กวิ. อิ ปัจ. กัจฯ ๖๖๙. ส. กวิ.
  21. กามาตุล : ค. ผู้ทุรนทุรายเพราะความใคร่เป็นเหตุ, ผู้ป่วยใจ
  22. กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
  23. กุตูหลสาลา : อิต. ศาลาพักผ่อน, โรงหย่อนใจ, ศาลาสาธารณะ
  24. โกตุก : นป. แหวนแต่งงาน; ความประหลาดใจ
  25. ขมติ : ก. อดทน, อดกลั้น, ข่มใจได้, อภัยให้
  26. โคตฺตภู โคตฺรภู : (ปุ.) ธรรมอันครอบงำ โคตร ปุถุชนยังโคตรอริยะให้เกิด, ธรรม ( คือ อารมณ์ที่เกิดกับใจ ) อันยังเชื้อชาติแห่ง มหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่งโลกุตตระให้ เจริญ วิ. มหคฺคตสฺส โลกุตฺตรสฺส วา โคตฺตํ ภาเวติ วุฑฺเฒตีติโคตฺตภู โคตฺรภู วา รูปฯ ๑๙๙ ว่า โคตฺตภู โคตฺรภู เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ เป็น อูการันต์ นปุ. และรัสสะเป็น อุ เป็น โคตฺตภุ โคตฺรภุ ได้ แปลว่า จิตอัน ครอบงำ โคตรปุถุชน ยังโคตรอริยะให้เกิด, จิตอัน ยังเชื้อชาติแห่งมหัคคตะหรือเชื้อชาติแห่ง โลกุตตระให้เกิด, ชวนจิตอันยัง...ให้เกิด.
  27. จกฺขุกรณ, - กรณี : ค. ซึ่งกระทำปัญญาจักษุ, ผู้ทำให้เกิดปัญญาจักษุ, ผู้ทำให้เกิดความเห็นชัดด้วยใจ
  28. จตุตฺถมน : นป. ใจที่ ๔ คือชิวหาหรือลิ้น
  29. จตุปจฺจยสนฺโตส : (ปุ.) ความยินดีพร้อมใน ปัจจัยสี่, ความยินดีในปัจจัยสี่, ความพอ ใจในปัจจัยสี่ ( ตามมีตามได้ ).
  30. จาคาธิฏฐาน : ป. ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือจาคะ, ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือการสละสิ่งที่เป็นข้าศึกแก่ความจริงใจ (อธิษฐานธรรมอย่างหนึ่งในอธิษฐานธรรมสี่)
  31. จิตฺตรูป : อ. ตามที่คาดหมาย, ตามที่ใจนึก
  32. จิตฺตสญฺญตฺติ : อิต. ความหมายรู้ด้วยใจ, มั่นใจ
  33. จิตฺตสนฺตาป : นป. ความเร่าร้อนแห่งจิต, ความโศกเศร้าทุกข์ใจ
  34. จินฺตนาการ : (ปุ.) คลองแห่งความคิด, อาการ คือความคิด, การสร้างภาพขึ้นในใจ วิ. จินฺตนายํ ภาวํ อุกาโร ( การทำขึ้น การ สร้างขึ้น ) จินฺตนากาโร.
  35. จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
  36. เจตส : (ปุ.) ใจ, ความคิด, ความนึก, ฯลฯ. จิตฺธาตุ ส ปัจ.
  37. เจโตขิล, - ขีล : ป. ตะปูตรึงใจ, ความเคลือบแคลงดุจเสี้ยนแทงใจ, ความกระด้างแห่งจิตใจ, ความเสื่อมเสียทางใจ
  38. เจโตปโทส : ป. ความเสื่อมเสียแห่งใจ, ความมัวหมองแห่งจิต, ความชั่วทางใจ
  39. เจโตปริยญาณ : นป. ญาณกำหนดรู้แห่งจิตใจ (ของผู้อื่น), ความรู้จักทายใจคน
  40. เจโตปริยาย : (ปุ.) การกำหนดใจ, การกำหนด วาระจิต (คือช่วงของความคิด).
  41. เจโตผรณตา : อิต. ความแผ่ซ่านแห่งจิต, ความอิ่มเอิบแห่งจิต, ความฟูใจ
  42. เจโตวสิปฺปตฺต : ค. ผู้ถึงความเป็นผู้ชำนาญทางใจ, ผู้มีอำนาจเหนือจิต
  43. เจโตวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยอำนาจ แห่งใจ. ความหลุดพ้นที่มีสมาธิเป็น ปทัฏฐาน คือได้บรรลุฌานมาก่อนแล้วจึง บำเพ็ญวิปัสสนาต่อจนละกิเลสาสวะได้ เรียกว่า เจโตวิมุติ. ลำพังฌาน ไม่สามารถ ละกิเลสาสวะได้เด็ดขาด เป็นแต่สะกดไว้ อย่าเข้าใจผิด.
  44. เจโตวิวรณ : นป. การเปิดเผยซึ่งจิต, การปล่อยใจ
  45. เจโตสมฺผสฺส : ป. การสัมผัสทางใจ, การถูกต้องด้วยใจ
  46. ฉนฺท : (ปุ.) สภาพผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความตั้ง ใจ, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความปรา- รถนา, ความต้องการ, ความอยาก, ความอยากได้, ความมุ่งหมาย, ความยินดี, ความรัก, ความรักใคร่, ความสมัคร, ความสมัครใจ, ความเต็มใจ, ความอยู่ในอำนาจ, อัธยาศัย, ตัณหา, พระเวท. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ฉนฺท. ฉนฺท ฉันท์ ชื่อคำประพันธ์อย่าง ๑ มีหลาย ชื่อ มีหลักการวางคำ ครุ ลหุ และจำนวน คำแต่ละบาทต่างๆ กัน วิ. วชฺชํ ฉาทยตีติ ฉนฺทํ. ฉทฺ สํวรเณ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ส. ฉนฺทสฺ.
  47. ชาคริยานุโยค : (ปุ.) การประกอบความเพียร, การประกอบความเพียรเพื่อชำระใจให้ หมดจด.
  48. ตกฺเกติ : ก. นึก, ตรึก, ตรอง, เชื่อใจ
  49. ตีเรติ : ก. พิจารณา, ตกลงใจ, ตัดสิน, ทำให้สำเร็จ
  50. ตุฏฺฐจิตฺต, - มานส : ค. มีใจยินดีแล้ว, มีใจร่าเริงแล้ว, เบิกบานแล้ว
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-257

(0.0245 sec)