Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ไป , then ไบ, ไป .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ไป, 1556 found, display 1-50
  1. จร : (วิ.) บรรลุ, ไป, เที่ยวไป, เคลื่อนที่ไป, เคลื่อนที่ได้. จรฺ คติยํ, อ. สั่งสม, สะสม, รวบรวม. จรฺ สญฺจเย, อ. ประพฤติ จรฺ จรเณ, อ. สละ, ละ, ทิ้ง. จรฺ จชเน, อ. กิน, บริโภค. จรฺ ภกฺขเณ, อ. ยกขึ้น, สั่น, ส่าย, กลับกลอก, คลอนแคลน. จรฺ อุกฺขิปเน, อ.
  2. อนุสกฺกติ : ก. ถอยไป, ถอยมา, ไป ๆ มา ๆ
  3. กิจฺจานุกิจฺจ : (นปุ.) กิจและกิจน้อย, กิจใหญ่ และกิจน้อย, กิจจานุกิจ (การงานทั่ว ๆ ไป การงานน้อยใหญ่).
  4. โฆสน : (นปุ.) การประกาศ, ฯลฯ, โฆษณา, (การประกาศให้รู้กันทั่วๆ ไป) วิ. ฆุสนํ สทฺทนํ โฆสนํ โฆสนา วา.
  5. โฆสนา : (อิต.) การประกาศ, ฯลฯ, โฆษณา, (การประกาศให้รู้กันทั่วๆ ไป) วิ. ฆุสนํ สทฺทนํ โฆสนํ โฆสนา วา.
  6. จุต : (วิ.) ตก, พลัด, หล่น, เคลื่อน, ไป. จุ จวนคมเนสุ, ต.
  7. ตส : (วิ.) หวาด, สะดุ้ง, ตกใจ, คลอนแคลน, กลับกลอก, เคลื่อนที่, เคลื่อนที่ได้, ไป. ตสฺ อุพฺเพคจลเนสุ, อ.
  8. ทยา : (อิต.) ความเอ็นดู, ความอนุเคราะห์, ความรัก, ความรักใคร่, ความกรุณา. วิ. ทยติ ปรทุกขํ อตฺตสุขญฺจ หึสตีติ ทยา. ทยฺ ทานคติหึสาทานรกฺขาสุ, อ. อธิบายความหมายของศัพท์ ทยา ตามอรรถของธาตุ ให้คือให้อภัยแก่สัตว์ ไป คือ จิตไปเสมอในคนดีคนชั่วและสัตว์เบียดเบียนคือ รบเร้าจิตเตือนให้ช่วยเหลือผู้อื่น. ส. ทยา.
  9. ทุรนฺวย : (วิ.) อัน...ไปตามได้ยาก, อัน...ไป ตามได้โดยยาก. ทุ อนุ. บทหน้า อิ ธาตุ อ หรือ ข ปัจ. พฤทธิ อุ ที่ อนุ เป็น ว แปลง อิ เป็น ย ลง รฺ อาคมหลัง ทุ คำแปลหลัง ทุกฺข อนุ เป็นบทหน้า ลบ กฺข.
  10. ปายาติ : ก. ไป
  11. โปติกา : (อิต.) ลูกสัตว์ตัวเมีย (ทั่วๆ ไป).
  12. หุราหุร : (วิ.) ไป ๆ มา ๆ.
  13. อปราปร : (วิ.) ไป ๆ มา ๆ.
  14. อยติ : ก. ไป
  15. กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
  16. กฏิภาร : ป. ของหรือภาชนะที่นำไปด้วยเอว เช่นการอุ้มเด็ก
  17. กณฺฐ : (ปุ.) อวัยวะสำหรับออกเสียง, อวัยวะ สำหรับกล่าว. กณฺ สทฺเท, โฐ. อวัยวะยัง วัตถุมีข้าวเป็นต้น ให้ล่วงลงไป วิ. โอทนา ทีนิ กาเมตีติ กณฺโฐ. กมฺ ปทวิกฺเขเป, โฐ. อวัยวะเป็นที่ตั้งแห่งศีรษะ วิ. กํ ติฏฺฐติ เอตฺถาติ กณฺโฐ. กปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ. อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ. คอ, ลำคอ, ศอ, กัณฐ์, กรรฐ์. ส. กณฺฐ, กรฺณ.
  18. กตฺตุ : (ปุ.) นักการ คือพนักงานชั้นผู้น้อย มีหน้าที่นำหนังสือไปส่ง ณ ที่ต่าง ๆ ตามที่ได้รับคำสั่ง, พนักงาน. กตฺตุกมฺยตาฉนฺท
  19. กนฺติ : (อิต.) ความปรารถนา, ความอยากได้, ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความยินดี, ความต้องการ, อำนาจ. กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, ติ แปลง ติ เป็น นฺติ ลบที่ สุดธาตุ. ความงาม, ความสวยงาม, ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสง. วิ. กนตีติ กนฺติ. กนนํ วา กนฺติ. กนฺ. ทิตติยํ, ติ. การก้าว ไป, ความก้าวไป. วิ. กมนํ กนฺติ. กมฺปท วิกฺเขเป, ติ.
  20. กปฺปกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นไปแห่งกัป, ขัยกัป, ขัยกัลป์. วิ. กปฺโป จ โส ขโย จาติ กปฺปกฺขโย. ซ้อน กฺ.
  21. กปฺปนา : (อิต.) ความตรึก, ฯลฯ, กัลปนา ผลบุญที่ผู้ทำอุทิศให้แก่ผู้ล่วงลับไปแล้ว ที่ ดินหรือสิ่งของ ที่เจ้าของอุทิศผลประโยชน์ อันเกิดจากสิ่งนั้น ให้แก่วัดหรือพระ ศาสนา. ส. กลฺปนา.
  22. กปฺปิก : ค. ผู้เป็นไปในกัลป์, ผู้เวียนว่ายอยู่ในวัฏฏะ
  23. กพฺพร : (ปุ.) ทูบ ชื่อไม้แม่แคร่เกวียนที่ยื่น ออกไปติดกับแอก, หัวเกวียน. วิ. กํปฐวึ วุโนติ ฉาทยตีติ กุพฺพโร. กุปุพฺโพ, วุ สํวรเณ, โร อสฺสตฺตํ, วสฺส โพ (แปลง อุ ที่ วุ เป็น อ แปลง ว เป็น พ), พฺสํโยโค.
  24. กม : (ปุ.) กระบวน, แบบ, ลำดับ. กมุ อิจฺฉา- กนฺตีสุ, อ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ความก้าวไป. กมุ ปทวิกฺเขเป.
  25. กมติ : ก. ก้าวไป, ดำเนินไป; บรรลุ
  26. กมน : นป. การก้าวไป, การดำเนินไป, การบรรลุ
  27. กมฺมกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งกรรม
  28. กมฺมคติ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ไปแห่งกรรม, ความเป็นไปแห่งกรรม, ทางดำเนินแห่งกรรม, ส. กรฺมคติ.
  29. กมฺมพหุล : ค. ผู้มากไปด้วยกรรม
  30. กมฺมวฏฏ : (นปุ.) ความวนด้วยอำนาจแห่ง กรรม, ความวนแห่งกรรม, การท่องเที่ยว ไปด้วยอำนาจแห่งกรรม, การท่องเที่ยวไป ด้วยอำนาจแห่งผลของกรรม, วนคือกรรม.
  31. กมฺมวฏฐาน : นป. การกำหนดกรรม, การเป็นไปตามกรรม
  32. กมฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ปรารถนา, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่, ความเป็นแห่ง การก้าวไป, ความเป็นแห่งการดำเนินไป. กมศัพท์ ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ลบ อ ที่ ม แล้วลบ ณฺ.
  33. กรกฏก : (ปุ.) ระหัดชัก ชื่อระหัดชนิดหนึ่ง (เป็นไปได้ด้วยมือ).
  34. กรุณาธิมุตฺต : นป. ความมุ่งในความกรุณาหรือความเอ็นดู, ความน้อมไปในความกรุณา
  35. กรุณานุวตฺตี : ค. อันอนุวัตตามกรุณา, เป็นไปตามความเอ็นดู
  36. กลฺยาณาธิมุตฺติก : ค. ผู้มีจิตน้อมไปในทางที่ดีงาม
  37. กาตร : (วิ.) ไม่หาญ, ไม่แน่ใจลงไป, ทำให้ ฉงน. กุศัพท์ ตร ปัจ. แปลง กุ เป็น กา หรือ กุบทหน้า ตรฺธาตุในความข้าม อ ปัจ. วิ. อีสํ ตรติ สการิยํ กตฺตุ สกฺโกตีติ กาตโร. อภิฯ. ส. กาตร.
  38. กามนีต : ค. ผู้อันกามนำไปแล้ว
  39. กามพฺยาปาทวิหึสาวิตกฺกวสิกตา : (อิต.) ความเป็นแห่ง...เป็นผู้เป็นไปในอำนาจแห่งกาม วิตก และพยาบาทวิตก และวิหิงสาวิตก, ความที่แห่ง...เป็นผู้เป็นไปในอำนาจ....
  40. กามมคฺค : ป. กามมรรค, วิถีทางเป็นที่ดำเนินไปเพื่อความใคร่, ช่องสังวาส
  41. กามาวจร : ค. ซึ่งท่องเที่ยวไปในกาม
  42. กามาวจรจิตฺต : นป. จิตที่ท่องเที่ยวไปในกาม
  43. กามาวจรวิปาก : นป. จิตซึ่งเป็นผลท่องเที่ยวไปในกาม
  44. กายกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสัตว์ทำแล้วด้วยกาย, กรรมอันบุคคลทำแล้วด้วยกาย, วิ. กาเยน กตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. การทำด้วยกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมอันไปแล้ว ในกายทวาร วิ. กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมทางกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กายกรรม. กายกรรมที่ใช้ใน ภาษาไทย บางครั้งใช้ในความหมายว่าดัด ตนให้แข็งแรงด้วยท่าทางต่าง ๆ.
  45. กายคต : ค. สิ่งที่ไปในกาย, สิ่งที่อยู่ในกาย
  46. กายคตาสติ : (อิต.) สติอันไปแล้วในกาย, สติอันไปในกาย, กายคตาสติ คือการใช้ สติควบคุมจิตพิจารณาร่างกาย เช่น ผม ขน เล็บ เป็นต้น ให้เห็นว่าไม่งาม.
  47. กายิก : (วิ.) อัน...ทำแล้วด้วยกาย วิ. กาเยน กตํ กายิกํ. อันเป็นไปทางกาย วิ. กาเยน ปวตฺตํ กายิกํ. อันเป็นไปในกาย วิ. กาเย วตฺตตีติ กายิกํ. ณิก ปัจ.
  48. กายิกเจตสิกวิริย : (นปุ.) ความเพียรอันเป็น ไปทางกาย และความเพียรอันเป็นไป ทางจิต, ความเพียรอันเป็นไปในกายและ ความเพียรอัน เป็นไปในจิต. ลบ วิริย ของ ศัพท์ต้น.
  49. กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
  50. กาลจีวร : (นปุ.) ผ้าเกิดในกาล, กาลจีวร คือ ผ้าที่เกิดขึ้นแก่ภิกษุ ในกาลที่ทรงอนุญาต ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลาง เดือน ๑๒ ถ้าได้กรานกฐินเลื่อนไปถึง กลางเดือน ๔.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1556

(0.1211 sec)