Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ไหว , then หว, ไหว .

Eng-Thai Lexitron Dict : ไหว, more than 7 found, display 1-7
  1. quiver 1 : (VI) ; ไหว
  2. quake : (VI) ; สั่นไหว ; Related:ไหว, ยวบ ; Syn:tremble
  3. epicenter : (N) ; พื้นดินเหนือศูนย์กลางการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว ; Related:พื้นดินเหนือจุดศูนย์กลางของแผ่นดินไหว ; Syn:center
  4. seismic : (ADJ) ; เกี่ยวกับแผ่นดินไหว ; Related:ซึ่งเกิดจากแผ่นดินไหว, ซึ่งเกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก ; Syn:cataclysmic, volcanic
  5. sensitize : (VI) ; ทำให้อ่อนไหวง่าย ; Related:ทำให้อารมณ์อ่อนไหว ; Syn:stimulate, sharpen
  6. susceptive : (ADJ) ; มีอารมณ์อ่อนไหว ; Related:สะเทือนใจง่าย, หวั่นไหวง่าย ; Syn:vulnerable, susceptible
  7. Eng-Thai Lexitron Dict : ไหว, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ไหว, more than 7 found, display 1-7
  1. ไหว : (ADV) ; -ably ; Def:สามารถทำได้ ; Samp:ขาของเธอล้าจนเดินไม่ไหว
  2. ไหว : (V) ; vibrate ; Related:shake ; Syn:สั่น, สะเทือน, กระดิก ; Samp:พอมีเสียงระเบิดขึ้นเรือนก็ไหวไปทั้งหลัง
  3. ไหวตัว : (V) ; be alert ; Related:be on the move, be on tiptoe, be awake, be aware of ; Syn:ไหวทัน, รู้ตัว, รู้ทัน ; Def:เคลื่อนไหวเพราะรู้เหตุการณ์ล่วงหน้า ; Samp:คนร้ายไหวตัวเสียก่อนตำรวจจึงพลาดการจับกุม
  4. ไหวทัน : (V) ; be aware of ; Related:be awake, be on tiptoe, be on the move, be alert ; Syn:ไหวตัว, รู้ทัน, รู้ตัว ; Def:นึกรู้ทัน ; Samp:ตำรวจไหวทันเสียก่อนจึงไม่พลาดท่าผู้ร้าย
  5. ไหวติง : (V) ; move ; Related:set in motion ; Syn:กระดุกกระดิก, เคลื่อนไหว ; Def:มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่ไหวติงหมายถึงไม่เคลื่อนไหว ; Samp:เขาอยู่ในท่านิ่งคล้ายหุ่นปั้นไม่ไหวติงเลย
  6. ไหวพริบ : (N) ; resourcefulness ; Related:sagacity, astuteness, cleverness, adroitness ; Syn:เชาวน์ไว, ความฉลาด, ความเฉลียวฉลาด ; Def:ปัญญาไวรู้เท่าทัน ; Samp:เจ้าหน้าที่ผู้ทำสนธิสัญญาจะต้องมีศิลปะและไหวพริบในการเจรจา
  7. ไหวพริบดี : (V) ; be sharp ; Related:be witty, be clever, be sagacious, be keen, be smart ; Syn:ฉลาด, มีปฏิภาณ ; Samp:ผู้ชนะไหวพริบดีเมื่อเทียบกับผู้เข้าแข่งขันคนอื่นๆ
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ไหว, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ไหว, more than 5 found, display 1-5
  1. ไหว : ก. สั่น, สะเทือน, กระดิก, เช่น ใบไม้ไหว. ว. สามารถทําได้ เช่น เดินไหว สู้ไหว กินไหว.
  2. ไหว : ว. อาการที่เคลื่อนไหวหรือพลิ้วไปมา เช่น ปลาแหวกว่ายกอบัวอยู่ไหว ๆ ลมพัดธงสะบัดอยู่ไหว ๆ, อาการที่เคลื่อนไหวอย่างเห็นไม่ชัด เช่น เห็น คนร้ายวิ่งหนีเข้าไปในพงหญ้าอยู่ไหว ๆ.
  3. ไหวติง : ก. กระดุกกระดิก, มักใช้ในความปฏิเสธว่า ไม่ไหวติง.
  4. ไหวตัว : ก. ขยับตัว, รู้ตัวพร้อมที่จะรับเหตุการณ์.
  5. ไหวทัน : ก. รู้ทัน.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ไหว, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ไหว, 9 found, display 1-9
  1. เชาวน์ : ความนึกคิดที่แล่นไป, ความเร็วของปัญญาหรือความคิด, ไหวพริบ
  2. ทักษิโณทก : น้ำที่หลั่งในเวลาทำทาน, น้ำกรวด, คือเอาน้ำหลั่งเป็นเครื่อง หมายของการให้แทนสิ่งของที่ให้ เช่น ที่ดิน ศาลา กุฎี บุญกุศล เป็นต้น ซึ่งใหญ่โตเกินกว่าที่จะยกไหว หรือไม่มีรูปที่จะยกขึ้นได้
  3. ปฏิภาณปฏิสัมภิทา : ความแตกฉานในปฏิภาณได้แก่ไหวพริบ คือ โต้ตอบปัญหาเฉพาะหน้าได้ทันท่วงที หรือแก้ไขเหตุการณ์ฉุกเฉินได้ฉับพลันทันการ (ข้อ ๔ ในปฏิสัมภิทา ๔)
  4. มุนี : นักปราชญ์, ผู้สละเรือนและทรัพย์สมบัติแล้ว มีจิตใจตั้งมั่นเป็นอิสระไม่เกาะเกี่ยวติดพันในสิ่งทั้งหลาย สงบเย็น ไม่ทะเยอทะยานฝันใฝ่ ไม่แส่พร่านหวั่นไหว มีปัญญาเป็นกำลัง และมีสติรักษาตน, พระสงฆ์หรือนักบวชที่เข้าถึงธรรมและดำเนินชีวิตอันบริสุทธิ์
  5. โลกาธิปไตย : ความถือโลกเป็นใหญ่ คือ ถือความนิยมหรือเสียงกล่าวว่า ของชาวโลกเป็นสำคัญ หวั่นไหวไปตามเสียงนินทาและสรรเสริญ จะทำอะไรก็มุ่งจะเอาใจหมู่ชน หาความนิยม ทำตามที่เขานิยมกัน หรือคอยแต่หวั่นกลัวเสียงกล่าวว่า, พึงใช้แต่ในทางดีหรือในขอบเขตที่เป็นความดี คือ เคารพเสียงหมู่ชน (ข้อ ๒ ในอธิปไตย ๓)
  6. โลลโทษ : โทษคือความโลภ, ความมีอารมณ์อ่อนไหว โอนเอนไปตามสิ่งเย้ายวนอันสะดุดตาสะดุดใจ
  7. วาโยธาตุ : ธาตุลม คือธาตุที่มีลักษณะพัดไปมา, ภาวะสั่นไหว เคร่งตึง ค้ำจุน; ในร่างกายนี้ ส่วนที่ใช้กำหนดเป็นอารมณ์กรรมฐาน ได้แก่ลมพัดขึ้นเบื้องบน ลมพัดลงเบื้องต่ำ ลมในท้อง ลมในไส้ ลมพัดไปตามตัว ลมหายใจ (ตามสภาวะ วาโยธาตุ คือ สภาพสั่นไหว หรือค้ำจุน) ดู ธาตุ
  8. อเนญชาภิสังขาร : สภาพที่ปรุงแต่งภพอันมั่นคง ไม่หวั่นไหว ได้แก่ ภาวะจิตที่มั่นคงแน่วแน่ด้วยสมาธิแห่งจตุตถฌาน (ข้อ ๓ ในอภิสังขาร ๓); ตามหลักเขียน อาเนญชาภิสังขาร
  9. อุปาทายรูป : รูปอาศัย, รูปที่เกิดสืบเนื่องจากมหาภูตรูป, อาการของมหาภูตรูป ตามหลักฝ่ายอภิธรรมว่า มี ๒๔ คือ ก) ประสาท หรือ ปสาทรูป ๕ ได้แก่ จักขุ ตา, โสต หู, ฆาน จมูก, ชิวหา ลิ้น, กาย, มโน ใจ, ข) โคจรรูป หรือ วิสัยรูป (รูปที่เป็นอารมณ์) ๕ ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ (โผฏฐัพพะ ไม่นับเข้าจำนวน เพราะตรงกับปฐวี เตโช วาโย ซึ่งเป็นมหาภูตรูป) ค) ภาวรูป ๒ ได้แก่ อิตถีภาวะ ความเป็นหญิง และปุริสภาวะ ความเป็นชาย ง) หทัยรูป ๑ คือ หทัยวัตถุ หัวใจ จ) ชีวิตรูป ๑ คือ ชีวิตินทรีย์ ภาวะที่รักษารูปให้เป็นอยู่ ฉ) อาหารรูป ๑ คือกวฬิงการาหาร อาหารที่กินเกิดเป็นโอชา ช) ปริจเฉทรูป ๑ คือ อากาศธาตุ ช่องว่าง ญ) วิญญัติรูป ๒ คือ กายวิญญัติ ไหวกายให้รู้ความ วจีวิญญัติ ไหววาจาให้รู้ความ คือพูดได้ ฎ) วิการรูป ๕ อาการดัดแปลงต่างๆ ได้แก่ ลหุตา ความเบา, มุทุตา ความอ่อน, กัมมัญญตา ความควรแก่งาน, (อีก ๒ คือ วิญญัติรูป ๒ นั่นเอง ไม่นับอีก) ฏ) ลักขณรูป ๔ ได้แก่ อุปจยะ ความเติบขึ้นได้, สันตติ สืบต่อได้, ชรตา ทรุดโทรมได้, อนิจจตา ความสลายไม่ยั่งยืน (นับโคจรรูปเพียง ๔ วิการรูป เพียง ๓ จึงได้ ๒๔); ดู มหาภูต ด้วย

ETipitaka Pali-Thai Dict : ไหว, more than 5 found, display 1-5
  1. กมฺป กมฺปน : (วิ.) อันยัง...ให้ไหว, ไหว, หวั่น, สั่น, รัว. กมฺปฺ กมฺปเน, อ, ยุ.
  2. ขุภติ : ก. กำเริบ, กระเพื่อม, ไหว, สั่น, สะเทือน
  3. จญฺจล : (วิ.) กลิ้ง,โคลง,ไหว, สั่น, สะท้าน. จลฺ กมฺปเน, อ. เทว๎ภาวะ จ นิคคหิตอาคม.
  4. จปล : (วิ.) ประพฤติผิดโดยไม่ตริตรองเสียก่อน, ประพฤติผิดโดยพลัน, กลับกลอก, โยก, โคลง, ไหว, หวั่นไหว, ไม่แน่นอน, พลิก- แพลง, รวดเร็ว. จปฺ กกฺกนสนฺตาเนสุ, อโล. อถวา, จุป จลเน, อโล. วิ. จุปติ เอกตฺเถ น ติฏฺฐตีติ จปโล. อุสฺส อตฺตํ.
  5. ตรล : (วิ.) กลิ้ง, โคลง, ไหว, หวั่นไหว, หมุนรอบตัว, ลอยไป, ปลิวไป. ตรฺ สมฺภมปฺลวเนสุ, อโล.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ไหว, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ไหว, 3 found, display 1-3
  1. การไหวตัว : องฺควิกฺเขโป [ป.]
  2. ไม่หวั่นไหว : อจล, อกมฺปน
  3. หวั่นไหว : กมฺปิต, จลิต

(0.1266 sec)