Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: .

Budhism Thai-Thai Dict : , 20 found, display 1-20
  1. หารู : เอ็
  2. ปฏิจฉัปริวาส : ปริวาสเพื่อครุกาบัติที่ปิดไว้, ปริวาสที่ภิกษุผู้ปรารถาจะออกจากอาบัติสังฆาทิเสสอยู่ใช้เพื่ออาบัติที่ปิดไว้ ซึ่งับวัได้เป็จำเดียว
  3. พุทธัดร : ช่วงเวลาที่โลกว่างจากพระพุทธศาสา คือช่วงเวลาที่ศาสาของพระพุทธเจ้าพระองค์หึ่งสูญสิ้แล้ว และพระพุทธเจ้าพระองค์ใหม่ยังไม่อุบัติ
  4. มัชฌัติกสมัย : เวลาเที่ยงวั
  5. คณะธรรมยุต : คณะสงฆ์ที่ตั้งขึ้ใหม่ เมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงผวชเป็ภิกษุใรัชกาลที่ ๓; เรียกว่า ธรรมยุตติกา หรือ ธรรมยุติกิกาย ก็มี; สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงให้ความหมายว่า พระสงฆ์ออกจากมหาิกายั้เอง แต่ได้รับอุปสมบทใรามัญิกายด้วย (การคณะสงฆ์ .๑๐)
  6. คณะมหาิกาย : คณะสงฆ์ไทยเดิมทีสืบมาแต่สมัยสุโขทัย, เป็ชื่อที่ใช้เรียกใเมื่อได้เกิดมีคณะธรรมยุตขึ้แล้ว; สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงให้ความหมายว่า พระสงฆ์อัมีเป็พื้เมือง (ของประเทศไทย-ผู้เขีย) ก่อเกิด ธรรมยุติกิกาย (การคณะสงฆ์ .๙๐)
  7. ทัตชะ : อักษรเกิดแต่ฟั คือ ต ถ ท ธ และ ส
  8. ใบฎีกา : 1.หังสือิมต์พระ ตัวอย่าง “ขออาราธาพระคุณเจ้า (พร้อมด้วยพระสงฆ์ใวัดี้อีก......รูป) เจริญพระพุทธมต์ (หรือสวดมต์ หรือแสดงพระธรรมเทศา) ใงา.....บ้า เลขที่.......ตำบล.......อำเภอ.......ใวัที่......เดือ.......พ.ศ........เวลา.......” (หากจะอาราธาให้รับอาหารบิณฑบาตเช้าหรือเพลหรือมีการตักบาตรใช้ปิ่โต ก็ให้ระบุไว้ด้วย) 2.ตำแห่งพระฐาุกรมรองจากสมุห์ลงมา
  9. ลหุ : เสียงเบา ได้แก่ รัสสะสระไม่มีตัวสะกด อ อิ อุ เช่ ขมติ
  10. ไตรลิงค์ : ๓ เพศ หมายถึง คำศัพท์ที่เป็ได้ทั้ง ๓ เพศใทางไวยากรณ์ กล่าวคือ ปุํลิงค์ เพศชาย อิตถีลิงค์ เพศหญิง ปุํสกลิงค์ มิใช่เพศชายและหญิง; คำบาลีที่เป็ไตรลิงค์ เช่ ิพฺพุโต ิพฺพุตา ิพฺพุตํ เป็ ปุํลิงค์ อิตถีลิงค์ และปุํสกลิงค์ ตามลำดับ
  11. ปริวาส : การอยู่ชดใช้ เรียกสามัญว่า อยู่กรรม, เป็ชื่อวุฏฐาวิธี (ระเบียบปฏิบัติสำหรับออกจากครุกาบัติ) อย่างหึ่ง ซึ่งภิกษุผู้ต้องอาบัติสังฆาทิเสสแล้วปกปิดไว้ จะต้องประพฤติเป็การลงโทษตเองชดใช้ให้ครบเท่าจำวัที่ปิดอาบัติ ก่อที่จะประพฤติมาัตอัเป็ขั้ตอปกติของการออกจากอาบัติต่อไป, ระหว่างอยู่ปริวาส ต้องประพฤติวัตรต่างๆ เช่ งดใช้สิทธิบางอย่าง ลดฐาะของต และประจาตัวเป็ต้; ปริวาส มี ๓ อย่าง คือ ปฏิจฉัปริวาส สโมธาปริวาส และ สุทธัตปริวาส; มีปริวาสอีกอย่างหึ่งสำหรับักบวชอกศาสา จะต้องประพฤติก่อที่จะบวชใพระธรรมวิัย เรียกว่า ติตถิยปริวาส ซึ่งท่าจัดเป็ อปริจฉัปริวาส
  12. ปาสราสิสูตร : ชื่อสูตรที่ ๒๖ ใคัมภีร์มัชฌิมิกาย มูลปัณณาสก์ พระสุตตัตปิฎก; เรียกอีกชื่อหึ่งว่า อริยปริเยสสูตร เพราะว่าด้วย อริยปริเยส
  13. ปิฎก : ตามศัพท์แปลว่ากระจาด หรือ ตระกร้าอัเป็ภาชะสำหรับใส่ของต่างๆ เอามาใช้ใความหมายเป็ที่รวบรวมคำสอพระพุทธศาสา ที่จัดเป้หมวดหมู่แล้ว มี ๓ คือ ๑.วิัยปิฎก รวบรวมพระวิัย ๒.สุตตัตปิฎก รวบรวมพระสูตร ๓.อภิธรรมปิฎก รวบรวมพระอภิธรรม เรียกรวมกัว่าพระไตรปิฎก (ปิฎก ๓) ดู ไตรปิฎก
  14. มุ : ักปราชญ์, ผู้สละเรือและทรัพย์สมบัติแล้ว มีจิตใจตั้งมั่เป็อิสระไม่เกาะเกี่ยวติดพัสิ่งทั้งหลาย สงบเย็ ไม่ทะเยอทะยาฝัใฝ่ ไม่แส่พร่าหวั่ไหว มีปัญญาเป็กำลัง และมีสติรักษาต, พระสงฆ์หรือักบวชที่เข้าถึงธรรมและดำเชีวิตอับริสุทธิ์
  15. ลิงค์ : เพศ, ใบาลีไวยากรณ์มี ๓ อย่าง คือ ปุํลิงค์ เพศชาย, อิตถีลิงค์ เพศหญิง ปุํสกลิงค์ มิใช่เพศชายมิใช่เพศหญิง
  16. ศีล ๑๐ : สำหรับสามเณร แต่ผู้ใดศรัทธาจะรักษาก็ได้ หัวข้อเหมือศีล ๘ แต่แยกข้อ ๗ เป็ ๒ ข้อ (= ๗-๘) เลื่อข้อ ๘ เป็ ๙ และเติมข้อ ๑๐ คือ ๗.เว้จากฟ้อรำ ขับร้อง ฯลฯ ๘.เว้จากการทัดทรงดอกไม้ ฯลฯ ๙.เว้จากที่อัสูงใหญ่ ฯลฯ ๑๐.เว้จากการรับทองและเงิ; คำสมาทา (เฉพาะที่ต่าง) ว่า ๗.จฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสา- ๘.มาลาคฺธวิเลป ธารณมณฺฑวิภูสฏฺฐาา- ๙.อุจฺจาสยมหาสยา- ๑๐.ชาตรูปรชตปฏิคฺคหณา- (คำต่อท้าย เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยมิ เหมือกัทุกข้อ); ดู อาราธาศีล ด้วย
  17. ศีล ๘ : สำหรับฝึกตให้ยิ่งขึ้ไปโดยรักษาใบางโอกาส หรือมีศรัทธาจะรักษาประจำก็ได้ เช่ แม่ชีมักรักษาประจำ หัวข้อเหมือศีล ๕ แต่เปลี่ยข้อ ๓ และเติมข้อ ๖-๗-๘ คือ ๓.เว้จากประพฤติผิดพรหมจรรย์ คือเว้จากร่วมประเวณี ๖.เว้จากบริโภคอาหารใเวลาวิกาล คือเที่ยงแล้วไป ๗.เว้จากฟ้อรำ ขับร้อง บรรเลงดตรี ดูการเล่อัเป็ข้าศึกต่อพรหมจรรย์ การทัดทรงดอกไม้ ของหอม และเคลื่องลูบไล้ซึ่งใช้เป็เครื่องประดับตกแต่ง ๘.เว้จากที่อัสูงใหญ่ หรูหราฟุ่มเฟือย; คำสมาทา (เฉพาะที่ต่างจากศีล ๕) ว่า ๓.อพฺรหฺมจริยา- ๖.วิกาลโภชา- ๗.จฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสา มาลาคฺธวิเลปธารณมณฺฑวิภูสฏฺฐาา- ๘.อุจฺจาสยมหาสยา- (คำต่อท้ายเหมือข้อ ๑ ใศีล ๕); ดู อาราธาศีล ด้วย
  18. สังฆทา : ทาเพื่อสงฆ์, การถวายแก่สงฆ์ คือถวายเป็กลาง ๆ ไม่จำเพาะเจาะจงภิกษุรูปใดรูปหึ่ง เช่ จะทำพิธีถวายของที่มีจำจำกัดพึงแจ้งแก่ทางวัดให้จัดพระไปรับตามจำที่ต้องการ หัวห้าสงฆ์จัดภิกษุใดไปพึงทำใจว่า ท่ามารับใามของสงฆ์ หรือ เป็ผู้แทของสงฆ์ทั้งหมด ไม่พึงเพ่งเล็งว่าเป็บุคคลใด คิดตั้งใจแต่ว่าจะถวายอุทิศแก่สงฆ์; ใพิธีพึงจุดธูปเทียบูชาพระ อาราธาศีล รับศีล จบแล้วตั้งโม ๓ จบ กล่าวคำถวายเสร็จแล้วประเคของ และเมื่อพระสงฆ์อุโมทา พึงกรวด้ำ รับพร เป็เสร็จพิธี; คำถวายสังฆทาว่าดังี้ : อิมาิ มยํ ภฺเต, ภตฺตาิ, สปริวาราิ, ภิกฺขุสงฺฆสฺส, โอโณชยาม, สาธุ โฺเต, ภิกฺขุสงฺโฆ, อิมาิ, ภตฺตาิ, สปริวาราิ, ปฏิคฺคณฺหาตุ, อมฺหากํ, ทีฆรตฺตํ, หิตาย, สุขาย, แปลว่า : ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอ้อมถวาย ภัตตาหาร กับทั้งบริวารเหล่าี้แก่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับ ภัตตาหาร กับทั้งบริวารเหล่าี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยช์ และความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้กาลเทอญ ฯ
  19. สัตตบริภัณฑ์ : “เขาล้อมทั้ง ๗ ” คำเรียกหมู่ภูเขา ๗ เทือก ที่ล้อมรอบเขาพระสุเมรุ หรือ สิเรุ คือ ยุคธร อิสิธร กรวิก สุทัสสะ เมิธร วิตก และอัสสกัณณ์
  20. อาศรม : ที่อยู่ของักพรต; ตามลัทธิของพราหมณ์ ใยุคที่กลายเป็ฮิดูแล้วได้วางระเบียบเกี่ยวกับการดำเชีวิตของชาวฮิดูวรรณะสูง โดยเฉพาะวรรณะพราหมณ์ โดยแบ่งเป็ขั้หรือช่วงระยะ ๔ ขั้ หรือ ๔ ช่วง เรียกว่า อาศรม ๔ กำหดว่าชาวฮิดูวรรณะพราหมณ์ทุกคจะต้องครองชีวิตให้ครบทั้ง ๔ อาศรมตามลำดับ (แต่ใทางปฏิบัติ้อยคักได้ปฏิบัติเช่ั้ โดยเฉพาะปัจจุบัไม่ได้ถือกัแล้ว) คือ ๑) พรหมจารี เป็ักเรียศึกษาพระเวท ถือพรหมจรรย์ ๒) คฤหัสถ์ เป็ผู้ครองเรือ มีภรรยาและมีบุตร ๓) วาปรัสถ์ ออกอยู่ป่าเมื่อเห็บุตรของบุตร ๔) สัยาสี (เขียเต็มเป็สัยาสี) เป็ผู้สละโลก มีผ้าุ่ผืเดียว ถือภาชะขออาหารและหม้อ้ำเป็สมบัติ จาริกภิกขาจารเรื่อยไปไม่ยุ่งเกี่ยวกับชาวโลก (ปราชญ์บางท่าว่าพราหมณ์ได้ความคิดจากพระพุทธศาสาไปปรับปรุงจัดวางระบบของตขึ้ เช่ สัยาสี ตรงกับ ภิกษุ แต่หาเหมือกัจริงไม่)

(0.0118 sec)