Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เท้าหลัง, เท้า, หลัง , then ทา, ทาหลง, เท้า, เท้าหลัง, หลง, หลํ, หลัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เท้าหลัง, 1038 found, display 251-300
  1. ปฏิสรติ : ก. แล่นกลับ, วิ่งกลับ, ถอยหลัง, ล้าหลัง; หวนระลึก, กลับคิดถึง, กล่าว
  2. ปณฺหิ, - หิกา : อิต. ส้นเท้า
  3. ปณฺหี : ค. มีส้นเท้า
  4. ปตฺตการิก : ป. กองทหารราบ, กองทหารเดินเท้า
  5. ปตฺตชีวก : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งการเลี้ยงชีพ วิ. ชีวิกํ ปตฺโต ปตฺตชีวโก. กลับบทหน้าไว้หลัง รูปฯ ๓๓๖.
  6. ปตฺตานึก : (ปุ.) คนสี่คนมีศัตราพร้อม ชื่อ ปัตตานีกะ, พลเดินเท้า, ปัตตานีกะ, ปัตตานึก. เป็น ปตฺตาณีก บ้าง.
  7. ปตฺติ : (ปุ.) ทหารเดินเท้า, พลเดินเท้า, ทหารราบ, กองพลราบ. วิ. ปตฺตีติ ปตฺติ. ปตฺ คมเน, อิ, ทฺวิตฺตํ. ปเทน อตตีติ วา ปตฺติ. ปทปุพฺโพ, อตฺ สาตจฺจคมเน, อิ, อโลโป, ทสฺส โต. คนกล้าหาญ ก็แปล.
  8. ปตฺติก : (วิ.) ผู้ไปด้วยเท้า. ปทสา คตา อิก สกัด.
  9. ปตฺติกาย : ป. กองทหารเดินเท้า, กองทหารราบ
  10. ปตฺติการก : (ปุ.) ทหารราบ, กองเดินเท้า.
  11. ปทกุสล : ค. ผู้ฉลาดในการสังเกตรอยเท้า, ผู้ฉลาดดูรอยเท้า, ผู้ชำนาญในการตามรอย
  12. ปทค : (ปุ.) ทหารเดินเท้า, พลเดินเท้า, ทหาร ราบ. วิ. ปเทหิ คจฺฉตีติ ปทโค. กฺวิ ปัจ.
  13. ปทจร : (ปุ.) คนเที่ยวไปด้วยเท้า, คนเดินเท้า, การเที่ยวไปด้วยเท้า, การไปด้วยเท้า, บทจร. ไทยใช้ บทจร เป็นกิริยาว่าเดินไป.
  14. ปทเจติย : (นปุ.) พระเจดีย์คือรอยแห่งพระบาท ( รอยเท้าของพระพุทธเจ้า ) .
  15. ปทชาต : นป. รอยเท้า
  16. ปทวลญฺช : (ปุ.) รอยเป็นที่กดลง, รอยเท้า.
  17. ปทวาร : (ปุ.) วาระแห่งเท้า, ระยะแห่งเท้า, ระยะก้าวเท้า, ชั่วก้าวเท้า ( ก้าวย่าง ).
  18. ปทวิกฺเขปน : (นปุ.) การย่างไปซึ่งเท้า, การก้าวไปซึ่งเท้า, การย่างเท้าไป, การก้าวเท้าไป .
  19. ปทวิเขป ปทวิกฺเขป : (ปุ.) การย่างไปซึ่งเท้า, การก้าวไปซึ่งเท้า, การย่างเท้าไป, การก้าวเท้าไป .
  20. ปทสทฺท : ป. เสียงเท้า, เสียงย่างเท้า
  21. ปทิก : (ปุ.) ทหาร เดินเท้า, พลเดินเท้า, ทหารราบ. วิ. ปเทหิ คจฺฉตีติ ปทิโก. อิก ปัจ.
  22. ปนฺนค : (ปุ.) สัตว์ผู้มีหัวตกไป, สัตว์ผู้ไม่ไป ด้วยเท้า, ( เคลื่อนไปด้วยกระดูกซี่โครงและ เกล็ด ), งู, นาค, นาคราช. วิ. ปนฺนสิโร คจฺฉตีติ ปนฺนโค. ปนฺนํ คจฺฉตึติ วา ปนฺน โค. ปาเทหิ น คจฺฉตีติ วา ปนฺนโค. ปนฺน ปุพฺโพ, คมุ สปฺปคติยํ, กวิ.
  23. ปปท : ป. ปลายเท้า; หลุม, เหว, นรก
  24. ปปท ปปาท : (ปุ. นปุ.) ปลายเท้า วิ. ปกฎฺฐ ปทํ ปปทํ ปปาทํ วา.
  25. ปมุท ปโมท : (ปุ.) ความบันเทิงยิ่ง, ความยินดียิ่ง, ความร่าเริงยิ่ง, ความรื่นเริงยิ่ง, ความบันเทิง, ฯลฯ. ปปุพฺโพ, มุทฺ หาเส, ศัพท์หลัง ณ ปัจ.
  26. ปยุชฺชน ปยุญฺชน : (นปุ.) การประกอบ, ความประกอบ, ความประกอบยิ่ง. ปปุพฺโพ, ยุชฺ โยเค, ยุ. แปลง ช เป็น ชฺช ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม.
  27. ปรปุริส : (ปุ.) บุรุษอื่น, บุรุษอื่นๆ, บุรุษ เบื้องหลัง.
  28. ปรมฺปรโภชน : (นปุ.) โภชนะอันคนอื่นนิมนต์ ภายหลัง, โภชนะที่คนนิมนต์ทีหลัง. ภิกษุ รับนิมนต์ฉันไว้แห่งหนึ่ง แล้วไม่ไปฉัน กลับไปฉันที่เขานิมนต์ทีหลังอันเป็นเวลา เดียวกัน เรียกว่า ฉันเป็นปรัมประ ทรง ห้ามไว้ พุทธประสงค์ เพื่อรักษาศรัทธา ( หน้า ) ของทายกทายิกาผู้นิมนต์ก่อน. ปญฺจนฺนํ โภชนานํ อญฺญตเรน โภชเนน นิมนฺติโต ตํ ฐเปตฺวา อญฺญานํ ปญฺจนฺนํ โภชนา นํ อญฺญตรํ โภชนํ ภุญฺชติ. เอตํ ปรมฺปรโภชนํ นาม. ไตร. ๒/๓๒๐
  29. ปรมฺมรณา : อ. เบื้องหน้าแต่ตาย, หลังจากตาย
  30. ปรมฺมุขา : (อัพ. นิบาต) ลับ, ลับหน้า, ในที่อื่น แห่งหน้า, ลับหลัง, ในที่ลับหลัง.
  31. ปรหิยฺย : (ปุ.) วันอื่นจากวันวาน, วานซืน ( ก่อนวานนี้วันหนึ่ง ). วิ. หิยฺยโต ปโร ปรหิยฺโย. กลับบทหน้าไว้หลัง. อมาทิปรตัป รูปฯ ๓๓๖.
  32. ปริจาค ปริจฺจาค : (ปุ.) การสละ, การให้, การให้ปัน, การสละให้, การเสียสละ. ปริปุพฺโพ, หา จาเค, โณ, เท๎วภาวะ หา รัสสะเป็น ห แปลง ห,ห เป็น จ,ค หรือ ตั้ง จชฺ จาเค ศัพท์หลังซ้อน จฺ โมคฯ ลง ฆณฺ ปัจ. ส. ปริตฺยาค.
  33. ปโร : อ. ข้างบน, ข้างหลัง, ไปเบื้องหน้า ; มากกว่า
  34. ปาจน : นป. การหุงต้ม, การปรุงอาหาร; ปฏัก, ไม้เท้า
  35. ปาฏิกา : อิต. หินที่มีรูปเป็นอัฒจันทร์ที่บันไดบ้านเรือนหรือสำหรับล้างเท้า
  36. ปาท : ป., นป. เท้า, เชิง, เสี้ยว, เศษหนึ่งส่วนสี่; ราก, ปุ่ม
  37. ปาทก : ๑. นป. ฐาน, พื้น; ๒. ค. มีฐาน, มีเท้า, มีพื้น
  38. ปาทกฏก : ป. เครื่องประดับเท้า
  39. ปาทกฐลิกา : อิต. ไม้สำหรับเหยียบล้างเท้า
  40. ปาทกุทาริกา : อิต. เขียงเท้า
  41. ปาทคฺค : นป. ปลายเท้า, ปลายตีน
  42. ปาทคณฺฐี : อิต. ข้อเท้า, ข้อตีน
  43. ปาทฆสนี : อิต. ผ้าเช็ดเท้า; วัตถุสำหรับเช็ดเท้า
  44. ปาทงฺคุฏฺฐ : นป. นิ้วเท้า, หัวแม่เท้า
  45. ปาทจลน, - จาร : นป. การไหวเท้า, การกระดิกเท้า, การสั่นเท้า, การย่างเท้า
  46. ปาทฉิทฺท : นป. ช่วงวงเท้า, ก้าว
  47. ปาทฏฺฐิก : นป. กระดูกเท้า, กระดูกขา
  48. ปาทโธวน : นป. การชำระหรือล้างเท้า
  49. ปาทป : ป. ผู้ดื่มด้วยเท้า, ต้นไม้
  50. ปาทปริกมฺม : นป. การบริกรรมเท้า, การนวดเท้า
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1038

(0.0750 sec)