ปมูฬฺห : ค. ผู้ลุ่มหลง, ผู้มัวเมา
ปโมห : ป. ความลุ่มหลง, ความมัวเมา
ปโมหก : (วิ.) ผู้ทำให้หลง. ปโมหปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, กวิ.
ปโมหน : นป. การหลอกลวง, ความหลงผิด
ปโมเหติ : ก. หลอกลวง, ให้ลุ่มหลง, ล่อให้หลง
ปรกฺกมาธิคตสมฺปท : (วิ.) ผู้มีสมบัติอันได้แล้ว ด้วยความเพียร วิ. ปรฺกกเมน อธิคตาสมฺปทา เยหิ เต ภวนฺติ ปรฺกกมาธิคตสมฺปทา. รูปฯ ๓๔๑.
ปรทาริก : (วิ.) ผู้ถึงซึ่งภรรยาของคนอื่น ( ผิดเมียเขาในทางประเวณี ) วิ. ปรทารํ คจฺฉตีติ ปรทาริโก. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
ปริกมฺม : (นปุ.) การทำบ่อยๆ, การทำซ้ำๆ, การขัดถู, การบริกรรม, ไทยใช้บริกรรม เป็นกิริยาในความว่า สำรวมใจสวดมนต์ สำรวมใจร่ายมนต์เสกคาถา เสกเป่า ตกแต่ง กำหนดใจ นวดฟั้น ฉาบทา.
ปากเตล : นป. น้ำมันงาที่เคี่ยวให้เดือดแล้วสำหรับใช้ทาตัว
ปุถุชฺชน : ป. ปุถุชน, คนธรรมดา, คนสามัญ, คนต่ำ, คนหลง
ปุรินฺทท : (ปุ.) ปุรินททะ ชื่อขอพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. ปุเร ปุริมํ วา ททาตีติ ปุรินฺทโท. ปุเร ทานํ อททีติ วา ปุรินฺทโท. ปุรปุพฺโพ, ททฺ ทาเน, อ. แปลง อ ที่ ร เป็น อึ เป็น ปุรึ เอานิคคหิตเป็น นฺ
ปุลสก : (ปุ.) ก้อนเส้า (ก้อนดินหรือก้อนอิฐก้อนหินที่เอามาตั้งเป็นหลักต่างเตาตั้งเป็นสามเส้าสำหรับต้มแกง). ปุลุสุ อุปทาเห, อ, สตฺเถ โก.
โปฏฺฐปทมาส : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยวันเพ็ญรวมนักษัตรโปฏฐปทา, เดือน ๑๐, กันยายน, เดือนกันยายน.
โปตฺถ : (ปุ. นปุ.) อันโบก, อันฉาบ, อันทา, การโบก, ฯลฯ, รูปปั้น. ปุสฺ เสฺนหเสจ-นปูรเณสุ, โถ. สสฺส โต.
พก : (ปุ.) นกยาง, นกยางโทน ชื่อนกยางชนิดหนึ่ง. วิ. วกติ โคจรํ อาททาตีติ พโก. วกฺ อาทาเน, อ, วสฺส โพ. เวสฯ เป็น พกฺอาทาเน.
พฺยากรณ : (นปุ.) การทำให้แจ้ง, การทำนาย, การกล่าวทาย, การกล่าวแก้, การเฉลย, การคาดการณ์, การยืนยัน, ความยืนยัน, พยากรณ์ ชื่อเวทางค์ คือ การเรียนพระเวทอย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง. วิ. ยถาสรูปํ สทฺทา วฺยากรียนฺติ เอเตนาติ วฺยากรณํ. วิ อา ปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, ยุ. อภิฯ. สาธุสทฺทานมนฺวาขฺยายกํ พฺยากรณํ. ฎีกาอภิฯ.
พริหิติณ พริหิส : (นปุ.) หญ้าคา, ข่า. วรหฺ ปาธานิยปริภาสนหีสาทาเนสุ, อิโส.
โพนฺทิ : (ปุ.) รูป, กาย, ร่างกาย, สรีระ. วิ. พุนฺทานิ ติกฺขานิ ปิสุณผรุส-วาจาทีนิ วา ปญฺญาวิริยาทีนิ วา เอตฺถ สนฺตีติ โพนฺทิ. วุโนติ เอตฺถาติ วา โพนฺติ. วุ สํวรเณ, ทิ, นิคฺคหิตาคโม. แปลง อุ เป็น โอ ว เป็น พ.
ภตฺติ : (อิต.) การแบ่ง, การแจก, การให้, การให้ปัน. ภชฺ ภาชน-ทาเนสุ, ติ แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ชฺ.
ภทฺททารุ : (ปุ.) เทพทาโร, ไม้เทพทาโร. วิ. เทวานํ ตนุภูตตฺตา ภทฺทญฺจ ตํ ทารุ เจติ ภทฺททารุ.
มกฺขณ : นป. การทา; การเจิม
มกฺขน : (นปุ.) การทา, การทำให้เปื้อน, ยุ ปัจ.
มกฺขิต : อิต. ทาแล้ว, เจิมแล้ว
มกฺเขติ : ก. ทา, เจิม, ถู, เช็ด
มคฺคมุฬฺห : ป. คนหลงทาง
มนฺทากิณี : (อิต.) มันทากิณี ชื่อสระใหญ่สระ ๑ ใน ๗ สระ, มนฺทปุพฺโพ, อกฺ คมเน, อินี. แปลง นี เป็น ณี เป็น มนฺทากินี โดยไม่แปลงก็มี.
มนฺทาร : (ปุ.) มันทาระ ชื่อภูเขาข้างทิศปัจฉิม. มนฺท+อรฺ ธาตุในความไป ถึง เป็นไป ณ ปัจ. ฎีกาอภิฯ เป็น มนฺทร วิ. มนิทยติ สูริโย ยสฺมึ มนฺทโร. มนฺทปฺปโภ วา อรติ ยสฺมึ สูริโยติ มนฺทโร.
มลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐาน : (นปุ.) การทัดทรงและการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกม้าและของหอมและเครื่องประเทืองผิวอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว, ฐานะอันเป็นที่ตั้งแห่งการทัดทรงและการประดับและการตกแต่งด้วยดอกไม้และของหอมและเครื่องลูบไล้ (เครื่องย้อมเครื่องทา), การทัดทรงการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกไม้ของหอมเครื่องย้อมเครื่องทาอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว.
มหากิริยา : (อิต.) มหากิริยา ชื่อของการกระทำของพระอรหันต์ พระอรหันต์ท่านทำอะไร ก็ทำด้วยจิตบริสุทธิ์ ไม่มีโลภ โกรธหลง ไม่ยึดเอาเป็นบุญเป็นบาป จึงเรียกว่า มหากิริยา.
มาท : (ปุ.) ความเมา, ความจองหอง. มทฺ อุมฺทาเท, โณ.
มุขรชน : (นปุ.) สีทาปาก, ลิปสติก.
มุขวิเลปน : (นปุ.) เครื่องทาหน้า, เครื่องไล้หน้า.
มุฏฺฐ : กิต. หลงแล้ว, ลืมแล้ว
มุฏฺฐสจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันเผลอแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันลืมแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันหลงแล้ว, ความเป็นคนเผลอสติ, ฯลฯ. มุฏฺฐ+สติ+ณฺย ปัจ. ลบ อิ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
มุณฺห : (วิ.) หลง, เขลา, โง่. มุหฺ เวจิตฺเต, ยุ.
มุฬฺห : (ปุ.) ความหลง, ความเขลา, ความโง่. มุหฺ เวจิตฺเต, โฬ. กลับอักษร เอา ฬ ไว้หน้า ห.
โมมูห : (ปุ.) ความหลงใหล, ความหลงมาก, ความหลงเลอะ, ความโง่เขลา, ความโง่เง่า. มุหฺ เวจิตฺเต, โณ. เท๎วภาวะ มุ แปลง อุ เป็น ทีฆะ อุ ที่ มุ ตัวธาตุ.
โมหกฺขย : ป. สิ้นความหลง
โมหตม : ป. ความมืดคือความหลง
โมหนฺธ : (ปุ.) ความมืดด้วยความหลง, ความมืดมน.
โมเหติ : ก. หลอกลวง, ให้หลง, ทำให้ผิดทาง, ตบตา
รงฺคชีว : ป. ผู้ย้อม, ผู้ทา
ลิตฺต : ค. ไล้, ทาแล้ว, ฉาบแล้ว
ลิมฺปน : นป. การฉาบทา, การไล้
เลป : ป., เลปน นป. การฉาบทา, การไล้
เลเปติ : ก. ฉาบทา, ไล้
วาสจุณฺณ : นป. จุณ, น้ำหอมสำหรับทาอาบ
วิตณฺฑวาท : ป. พูดให้หลงเชื่อ
วิลิมฺปติ : ก. ลูบไล้, ฉาบทา
วิเลปน : นป. การลูบไล้, เครื่องทา