Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หลักแหลม, แหลม, หลัก , then หลก, หลม, หลัก, หลักแหลม, แหลม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หลักแหลม, 105 found, display 51-100
  1. นิม : ป. หลัก, เสา; หลักปักสำหรับวัดหรือทำเครื่องหมายในการสร้างบ้านเรือน
  2. นิมฺมนฺถยทารุ : (ปุ.) หลักสำหรับผูกสัตว์ฆ่า บูชายัญ. วิ. นิมฺมถียเตติ นิมฺมนฺโถย. ยํ กฏฐ อคฺคินิปฺยาทนตฺถํ กฏฐนฺตเรน ฆํสียเต โส นิมฺมนฺถฺยทารุ.
  3. นิยฺยุหก : (ปุ.) หลัก, หลักติดไว้สำหรับแขวน หมอก.
  4. นิยฺยูห : (ปุ.) การไหล, การซึม, การไหลซึม, ความไหล. ฯลฯ, ยาง, ยางไม้, เหงือก, ดอกไม้กรองบนศรีษะ, มงกุฎ, ประตู, หลักติดไว้สำหรับแขวนหมวก. โบราณว่า บันไดแก้ว เขมรว่า ไดแก้ว หมายเอาที่ แขวนหมวก. นิปุพฺโพ, อูหฺ วิตกฺเก ปีฑเน วา. อ. ยฺอาคโม, ทฺวิตฺตญจ. ส. นิรฺยูห, นิรฺยฺยูห.
  5. ปฏฺโฎลิ : นป. กะพล้อ, กระบอกตักน้ำปากแหลมอย่างปากพวยกา
  6. ปฏฺฐปิต : กิต. (อันเขา) เริ่มตั้งไว้แล้ว, วางเป็นหลักแล้ว
  7. ปฏฺฐเปติ : ก. เริ่มตั้ง, แต่งตั้ง, วางเป็นหลัก, เริ่มต้น
  8. ปฏิคาธ : ป. ที่พึ่ง, ที่ยึดเหนี่ยว, หลักยึด
  9. ปฏิจฺจวินีต : ค. ผู้ได้รับฝึกหัดแนะนำในธรรมที่อาศัยกัน (หลักเหตุผล)
  10. ปฏิภาณ, - ภาน : นป. ปฏิภาณ, ไหวพริบ, ความสามารถพูดโต้ตอบได้ฉับไว, ความเฉียบแหลม, ความแจ่มแจ้ง
  11. ปฏุ : ค. ฉลาด, ชำนาญ, คล่องแคล่ว, เฉียบแหลม, คม, มีสุขภาพดี
  12. ปณฺฑิจฺจ : นป. ความเป็นบัณฑิต, ความเฉลียวฉลาด, ความเฉียบแหลม
  13. ปทปูรณ : (ปุ.) บทอันยังเนื้อความให้เต็ม, บทบูรณ์ คือคำที่ทำให้คำประพันธ์ครบคำ ตามหลักหรือกฎเกณฑ์ของคำประพันธ์.
  14. ปพฺพตสิขร : นป. ยอดแหลมของภูเขา
  15. ปมาณ : (วิ.) พอเหมาะ, เป็นประมาณ, เป็น หลักฐาน, เป็นที่เชื่อถือได้. ปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ.
  16. ปาฏวิก : ค. ผู้ความฉลาด, ผู้ชำนาญ, ผู้เฉียบแหลม
  17. ปาฏิโมกฺข : ป., นป. พระปาฏิโมกข์, ธรรมเป็นที่อาศัยให้พ้นจากอาบัติ; พระคัมภีร์รวบรวมพระวินัยที่เป็นหลักของภิกษุไว้และต้องสวดในที่ชุมนุมสงฆ์ทุกกึ่งเดือนเพื่อทบทวนข้อปฏิบัติและสำรวจตนเองว่าได้ปฏิบัติตนเองตามพุทธบัญญัติหรือไม่
  18. ปุลสก : (ปุ.) ก้อนเส้า (ก้อนดินหรือก้อนอิฐก้อนหินที่เอามาตั้งเป็นหลักต่างเตาตั้งเป็นสามเส้าสำหรับต้มแกง). ปุลุสุ อุปทาเห, อ, สตฺเถ โก.
  19. พฺยตฺต : (วิ.) ผู้เป็นไปวิเศษ, ปรีชา, ฉลาด, เฉียบแหลม, แจ้ง แจ่มแจ้ง. วิเสส+อทฺ ธาตุในความเป็นไป ต ปัจ.
  20. พฺรหฺมชาติ : (อิต.) พรหมชาติ ชื่อตำราหมอดูอย่างหนึ่ง มีกฏเกณฑ์การทำนายโดยเลข ๗ ตัว เป็นหลักใหญ่ ยังไม่ถึงขั้นโหราศาสตร์.
  21. ภินฺทิ : (นปุ.) แหลน ชื่อเหล็กกลมยาวปลายแหลมใช้แทง. ทิ วิทารเณ, นิคฺคหิ-ตาคโม.
  22. เภณฺฑิ : (อิต.) ฉมวก ชื่อเครื่องมือสำหรับแทงปลาเป็นต้น ทำเป็น ๓ ง่ามบ้าง ๕ ง่ามบ้าง ปลายง่ามแหลมและมีเงี่ยงเหมือนเบ็ดมีด้ามยาว. ภิทิ วิทารเณ, อิ. แปลง ท เป็น ฑ นิคคหิตอาคม แปลงเป็น ณฺ แปลง อิ ที่ ภิ เป็น เอ.
  23. มุทุ มุทุก : (วิ.) อ่อน,อ่อนโยน, อ่อนหวาน, ละมุนละม่อม, ละเอียด. แปลว่า ช้า เกียจคร้าน ทื่อ ไม่เฉียบแหลม ก็มี.
  24. ยฏฺฐิ : อิต. ไม้เท้า, ไม่ถือ, หลักเสา; มาตราวัดเท่ากับ ๗ รัตนะ
  25. สงฺกุ : ป. หลัก, ไม้เสียบ, ตะปู, หอก, ขวาก
  26. สภาวธมฺม : (ปุ.) ความเป็นเอง, สิ่งที่เกิดเอง, สิ่งที่เป็นเอง, หลักแห่งความเป็นเอง, สภาวธัมม์ สภาพธรรม ได้แก่ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒.
  27. สวณ : (ปุ.) สวณะ ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๒๒ ใน ๒๗ กลุ่ม มี ๓ ดวง, ดาวหลักชัย. วิ. สวติ สุภาสุภผล เมเตนาติ สวโณ. สุ ปสเว, ยุ. เป็น สวน บ้าง.
  28. สวฺหย : (วิ.) เป็นไปด้วยชื่อ (ไม่ใช่คนหลักลอย ไม่ใช่คนเถื่อน). วิ. สห อวฺหเยน วตฺตตีติ สวฺหโย.
  29. สาร : (วิ.) สูงสุด, อุดม, ยิ่ง, แข็ง, สำคัญ, เป็นหลักฐาน, ที่พึ่ง. สรฺ คติหึสาจินฺตาสุ, โณ.
  30. สุขุม : (วิ.) ซึ้ง, น้อย, เล็ก, ละเอียด, ละเอียดอ่อน, เฉียบแหลม, ประณีต. วิ. สุขยติ อนุภวตีติ สุขุมํ. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อุโม. สุจฺ โสจเน วา, แปลง จฺ เป็น ขฺ.
  31. สุจิวิชฺฌน : (นปุ.) เหล็กแหลม, เหล็กเจาะ, เหล็กหมาด, สว่าน.
  32. เสรีธมฺม : (ปุ.) หลักแห่งเสรีภาพ. เสรีภาวนา+ธมฺม.
  33. โหราสตฺถ : (นปุ.) ตำราวิชาโหร, คัมภีร์วิชาโหร, โหราศาสตร์ (ตำราว่าด้วยการพยากรณ์โดยอาศัยดาราศาสตร์เป็นหลัก).
  34. อกรณียกิจฺจ : (นปุ.) กิจอัน....ไม่พึงทำ, กิจอัน....ไม่ควรทำ, อกรณียกิจ.กิจอันบรรพชิตไม่ควรทำ (ทำไม่ได้) มี๔ อย่าง.ความเป็นจริงกิจที่บรรพชิตไม่ควรทำทั้งสิ้น ชื่ออกรณียกิจ ที่ท่านยกขึ้นกล่าวเพียง ๔ อย่างนั้นกล่าวเฉพาะข้อที่สำคัญซึ่งล่อแหลมต่อการขาดจากความเป็นบรรพชิตและเพื่อให้เหมาะแก่เวลาเมื่ออุปสมบทเสร็จ.อกรณียกิจของคนทั่วไปได้แก่ กายทุจริต วจีทุจริต และมโนทุจริต.
  35. อจฺเฉก : (วิ.) ไม่เฉียบแหลม, โง่.น+เฉกซ้อนจฺ.
  36. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  37. อธิปาติโมกฺข : นป. อธิปาติโมกข์, หลักธรรมจรรยาอันสูงยิ่ง
  38. อปทิสติ : ก. แสดงหลักฐาน, นำมาอ้าง
  39. อพฺยตฺต : (วิ.) ไม่ชัด, ไม่เฉียบแหลม.
  40. อมูลอมูลก : (วิ.) มีมูลหามิได้, ไม่มีมูลคือไม่ได้เห็นไม่ได้ยินไม่ได้รังเกียจ, ไม่มีหลักฐาน.
  41. อมูล อมูลก : (วิ.) มีมูลหามิได้, ไม่มีมูล คือไม่ ได้เห็น ไม่ได้ยิน ไม่ได้รังเกียจ, ไม่มีหลัก ฐาน.
  42. อวฺยตฺต : ค. ไม่ฉลาด, ไม่เฉียบแหลม ; ไม่สำเร็จ, ไม่ปรากฏออกมา
  43. อวฺยตฺตตา : อิต. ความเป็นผู้ไม่ฉลาดเฉียบแหลม ; ความไม่แสดงผลออกมาให้ปรากฏ
  44. อสนิอสนีอสุนี : (ปุ. อิต.) สายฟ้า (วชิร), อาวุธแหลม, อาวุธพระอินทร์.วิ.อสฺสเต.ธาตุกมเนนอายุเธนาติอสนิ.อสฺโภชเนอนิ.ภณฺฑนตฺถายอสฺสเตเทเวหีติวาอสนิ.อสุเขปเน, อนิ.ทีฆะ เป็นอสนีเอาอเป็นอุเป็นอสุนี.ส.อศนิ.
  45. อาการวนฺต : ค. มีเหตุ, มีผล, มีหลักฐาน
  46. อารกณฺฐก : นป. เหล็กสว่าน, เหล็กแหลม
  47. อารคฺค : นป. ปลายเข็ม, ปลายเหล็กแหลม, ปลายธนู
  48. อารา : (อิต.) เหล็กหมาด, เหล็กเจาะ, เหล็กแหลม, สว่าน, เข็ม.อรฺคมเน, โณ, อิตฺถิยํอา.อภิฯลงอปัจ.
  49. อาฬหณ อาฬหน : (นปุ.) หลักเป็นที่นำนักโทษ ประหารมาฆ่า, ที่ประหารชีวิต. อาปุพฺโพ, ทหฺ หึสายํ, ยุ.
  50. อุคฺฆฏิตญฺญู : ค. ผู้พอยกขึ้นแสดงก็รู้ทันที, ผู้มีปัญญาเฉียบแหลม
  51. 1-50 | [51-100] | 101-105

(0.0334 sec)