Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หลัก , then หลก, หลัก .

Eng-Thai Lexitron Dict : หลัก, more than 7 found, display 1-7
  1. keystone : (N) ; หลัก ; Related:แกน, แกนหลัก, หลักสำคัญ ; Syn:principle, main
  2. chief : (ADJ) ; สำคัญ ; Related:หลัก ; Syn:main, leading
  3. ethic : (N) ; หลักจรรยา ; Related:หลักจริยธรรม ; Syn:morals, principle
  4. evangel : (N) ; หลักคำสอนเบื้องต้น ; Related:หลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับศีลธรรมหรือการเมือง
  5. exhibit : (N) ; หลักฐาน ; Related:หลักฐานที่นำมาแสดงในศาล ; Syn:evidence, proof
  6. golden rule : (N) ; หลักคำสอน ; Related:หลักประพฤติ
  7. milestone : (N) ; หลักไมล์ ; Related:หลักบอกระยะทางเป็นไมล์ ; Syn:milepost, stone
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : หลัก, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : หลัก, more than 7 found, display 1-7
  1. หลัก : (N) ; main principle ; Related:basic, core, main theme ; Syn:หลักการ, แก่น ; Def:สาระสำคัญ ; Samp:หน้าที่ของศูนย์นี้หลักใหญ่ก็คือการช่วยเหลือในรูปของสวัสดิการ
  2. หลัก : (N) ; principle ; Related:tenet ; Syn:หลักการ, แก่น ; Def:สาระสำคัญ ; Samp:หน้าที่ของศูนย์นี้หลักใหญ่ก็คือ การช่วยเหลือในรูปของสวัสดิการ
  3. หลัก : (N) ; pole ; Syn:เสา, ที่มั่น, ที่ผูก, หลักยึด ; Samp:เขาเอาเรือไปผูกไว้กับหลัก
  4. หลัก : (N) ; stake ; Related:post, pole ; Syn:เสา, ที่มั่น, ที่ผูก, หลักยึด ; Samp:เขาเอาเรือไปผูกไว้กับหลัก
  5. หลัก : (ADJ) ; main ; Related:principal, major, chief, essential ; Syn:สำคัญ ; Samp:บทบาทของจอภาพเป็นอุปกรณ์หลักในการแสดงผล
  6. หลัก : (N) ; principal ; Related:main, chief, major ; Def:ส่วนที่สำคัญ ; Samp:จิตวิเคราะห์หมายถึง วิธีการรักษาที่เน้นวิธีหลักคือการปล่อยให้คนไข้ได้พูดอย่างอิสระ
  7. หลักการ : (N) ; principle ; Syn:หลัก, แนว, วิถีทาง, แนวทาง ; Def:หลักสาระสำคัญในการดำเนินการ
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : หลัก, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : หลัก, more than 5 found, display 1-5
  1. หลัก : น. เสาที่ปักไว้, ที่ผูก, ที่มั่น, เช่น เอาเรือไปผูกไว้กับหลัก; เครื่องหมาย เช่น หลักเขต; เครื่องยึดเหนี่ยว เช่น มีธรรมะเป็นหลักในการดํารงชีวิต, เครื่องจับยึด เช่น หลักแจว; สาระที่มั่นคง เช่น พูดจาไม่มีหลัก หลัก กฎหมาย หลักเศรษฐศาสตร์.
  2. หลัก : น. ตําแหน่งของตัวเลขซึ่งแสดงจํานวน คือ ถ้าเป็นเลขตัวเดียว เรียกว่า จํานวนหน่วย เลข ๒ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จํานวนสิบ เลข ๓ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จํานวนร้อย เลข ๔ ตัวเรียงกัน เรียกว่าจํานวนพัน เลข ๕ ตัว เรียงกัน เรียกว่า จํานวนหมื่น เลข ๖ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จํานวนแสน เลข ๗ ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนล้าน เช่น ๙๘๗ เป็นจํานวนร้อย ๙ เป็นเลขหลักร้อย หมายถึง ๙๐๐ ส่วน ๘ เป็นเลขหลักสิบ หมายถึง ๘๐ และ ๗ เป็นเลขหลักหน่วย หมายถึง ๗.
  3. หลัก : (โบ) ว. จํานวนแสน. (ป. ลกฺข; ส. ลกฺษ).
  4. หลักชัย ๑ : ดูใน หลัก.
  5. หลักการ : น. สาระสำคัญที่ยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ เช่น คณะกรรมการลงมติ รับหลักการตามที่มีผู้เสนอ.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : หลัก, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : หลัก, more than 5 found, display 1-5
  1. หลักกำหนดธรรมวินัย : หลักตัดสินธรรมวินัย หรือลักษณะตัดสินธรรม วินัย ๘ อย่าง คือ ก.ธรรมเหล่าใด เป็นไป ๑.เพื่อความย้อมใจติด ๒.เพื่อความประกอบทุกข์ ๓.เพื่อความพอกพูนกิเลส ๔.เพื่อความมักมากอยากใหญ่ ๕.เพื่อความไม่สันโดษ ๖.เพื่อความคลุกคลีในหมู่ ๗.เพื่อความเกียจคร้าน ๘.เพื่อความเลี้ยงยาก, ธรรมเหล่านี้ พึงรู้ว่าไม่ใช่ธรรม ไม่ใช่วินัย ไม่ใช่สัตถุศาสน์, ข.ธรรมเหล่าใดเป็นไป ๑.เพื่อความคลายหายติด ๒.เพื่อความไม่ประกอบทุกข์ ๓.เพื่อความไม่พอกพูนกิเลส ๔.เพื่อความมักน้อย ๕.เพื่อความสันโดษ ๖.เพื่อความสงัด ๗.เพื่อการประกอบความเพียร ๘.เพื่อความเลี้ยงง่าย, ธรรมเหล่านี้พึงรู้ว่า เป็นธรรม เป็นวินัย เป็นสัตถุศาสน์
  2. กรุย : หลักที่ปักไว้เพื่อเป็นเครื่องหมายกำหนดแนวทางหรือระยะทาง
  3. ขัตติยธรรม : หลักธรรมสำหรับกษัตริย์, ธรรมของพระเจ้าแผ่นดิน
  4. ฆราวาสธรรม : หลักธรรมสำหรับการครองเรือน, ธรรมของผู้ครองเรือน มี ๔ อย่างคือ ๑.สัจจะ ความจริง เช่น ซื่อสัตย์ต่อกัน ๒.ทมะ ความฝึกฝน ปรับปรุงตน เช่น รู้จักข่มใจ ควบคุมอารมณ์ บังคับตนเองปรับตัวเข้ากับการงานและสิ่งแวดล้อมให้ได้ดี ๓.ขันติ ความอดทน ๔.จาคะ ความเสียสละ เผื่อแผ่ แบ่งปัน มีน้ำใจ
  5. วัฑฒิ : หลักความเจริญ (ของอารยชน) ดู อริยวัฑฒิ
  6. Budhism Thai-Thai Dict : หลัก, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : หลัก, more than 5 found, display 1-5
  1. กีล : (นปุ.) การผูก, การพัน, การมัด, การรัด, ความผูก, ฯลฯ, เครื่องผูก, ฯลฯ, หลัก, สลัก, หอก, ข้อศอก, ลิ่ม. กีลฺ พนฺธเน, อ. ส. กีล.
  2. ขาณุก : ป. ตอไม้, หลัก, เสา
  3. ขาณุ ขานุ ขานุก : (ปุ. นปุ.) ตอ, ตอไม้, หลัก, หลักตอ. อภิฯวิ. ขญฺญติ อวทารียตีติ ขาณุ. ขณุ อวทารเณ, ณุ, ณสฺสา (แปลง ณ ตัวธาตุ เป็น อา). กัจฯ ๖๗๑ วิ. ขณิตพฺโพ อวทาริต- พฺโพติ ขาณุ ขานุ วา. กัจฯ และ รูปฯ ลง ณุ นุ ปปัจ. ตัวนี้ไม่ลบ ศัพท์หลังลง ก สกัด.
  4. จิลฺลก : ป. เสาเข็ม, หลัก, หมุด, เดือย
  5. ถูณ : (ปุ.) เสา, หลัก, หลักเป็นที่บูชายัญ. วิ. อภิตฺวียฺตีติ ถูโณ. ถุ ถู วา อภิตฺถเว, อูโณ. ธรฺ ธารเณ วา, ยุ, รฺโลโป, ธสฺส โถ, อสฺสุตฺตํ, ทีโฆ จ. ไม่ทีฆะเป็น ถุณ บ้าง.
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : หลัก, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : หลัก, 2 found, display 1-2
  1. หลักฐาน, เหตุผล : สาปเทโส
  2. เป็นหลักฐาน : นิธานภูตา

(0.1770 sec)