Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เรียกชื่อ, เรียก, ชื่อ , then ชอ, ชื่อ, รยกชอ, เรียก, เรียกชื่อ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เรียกชื่อ, 1233 found, display 1151-1200
  1. อาฬวิ อาฬวี : (อิต.) อาฬวี ชื่อนคร ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ วิ. อลํ วิภูสนํ เอตฺถาติ อฬวี. วี ปัจ. อฬวี เอว อาฬวี. ลสฺส ฬตฺตํ.
  2. อาฬาร อาฬารตาปส : (ปุ.) อาฬารดาบส ชื่อดาบสหัวหน้าสำนัก ซึ่งพระมหาบุรุษ เสด็จเข้าไปศึกษาลัทธิตอนผนวชใหม่ ๆ.
  3. อิจฺฉา : (อิต.) อิจฉา ชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความปรารถนา, ฯลฯ. วิ. เอสนํ อิจฺฉา. รูปฯ ๕๘๓. ไทยใช้ อิจฉา เป็นกิริยาใน ความว่า ริษยา. ส. อิจฉา.
  4. อิตฺถนาม : ค. ชื่ออย่างนี้, มีชื่อว่าอย่างนี้
  5. อิติวุตฺตก : (นปุ.) อิติวุตตกะ ชื่อองค์ที่ ๖ ใน ๙ องค์ ของนวังคสัตถุศาสน์. แต่งโดยยกข้อ ธรรมขึ้นแล้ว อธิบายตอนจบมีบทสรุป กำกับไว้ด้วย. วิ. อิติ วุตฺตํ อิติวุตฺตกํ ก สกัด.
  6. อินฺทธนุ : (นปุ.) รุ้ง, สายรุ้ง, รุ้งกินน้ำ. วิ. อินฺทสฺส สกฺกสฺส ธนุ อินฺทธนุ. ส. อินฺทฺร ธนุ. ไทยนำคำนี้มาใช้ตามรูปสันสกฤตว่า อนิทรธนู (ออกเสียงว่า อินทะนู) เป็นชื่อ ของเครื่องประดับบ่าทั้งสองข้าง เป็นผ้า เนื้อ เดียวกับเสื้อ เย็บติดกับเสื้อ รูปเรียวเล็กน้อย ด้านทางคอมีรูสำหรับร้อยลูกกระดุม อีกอย่างหนึ่ง ทำเป็นธนูแข็งติดเครื่องหมายยศทั้งสองข้าง. และเป็นชื่อของลายขอบ ที่เป็นกระหนก.
  7. อินฺทปตฺต : (นปุ.) อินทปัต ชื่อนคร ๑ ใน ๒๐ ของอินเดีย.
  8. อินฺทวชิร : (นปุ.) อินทวชิระ ชื่อฉันท์ชนิด หนึ่ง, อินทวิเชียรฉันท์, อินทรวิเชียรฉันท์.
  9. อินฺทวร : (ปุ.) ต้นราชพฤกษ์ (ต้นคูน ก็เรียก), ผักตบ, บัวเขียว?
  10. อินฺทิรา : (อิต.) พระลักษมี ชื่อชายาของพระ นารายณ์ เป็นเจ้าแม่แห่งลาภและความงาม.
  11. อิรุ : (อิต.) อิรุ ชื่อไตรเพท ๑ ใน ๓ ของ พราหมณ์ วิ. อิจฺจนฺเต เทวา เอตายาติ อิรุ. อิจฺ ถุติยํ, อุ, จสฺส โร. อิวฺ วา ถุติยํ, วสฺส โร.
  12. อิรุพฺเพท : (ปุ.) อิรุพเพท ชื่อคัมภีร์ไตรเพทที่ ๑ ใน ๓ ของพราหมณ์ (ฮินดู). ส. ฤคเรท.
  13. อิส : (ปุ.) อิสะ ชื่อหมีชนิดหนึ่ง, หมี, ค่าง, แรด. อีสฺ คติหึสาทาเนสุ, โส, รสฺโส, สฺโลโป. เป็น อิสฺส โดยไม่ลบ สฺ ก็มี.
  14. อิสธร อิสินฺธร : (ปุ.) อิสธร อิสินธร ชื่อภูเขา ลูกหนึ่งใน ๗ ลูก ซึ่งเป็นบริวารของเขา สุเมรุ อภิฯ และ ฎีกอภิฯ เป็น อีสธร.
  15. อิสฺส : (ปุ.) อิสสะ ชื่อหมีชนิดหนึ่ง, หมี, ค่าง, แรด. อิสฺ อีสฺ คติหึสาทาเนสุ, โส. ไม่ลบ ที่สุดธาตุ. ถ้าตั้ง อีสฺ ก็รัสสะ อี เป็น อิ.
  16. อิสิ : (ปุ.) ฤาษี, ฤษี (ผู้แสวงหาคุณความดี ผู้ถือบวช), บุคคลผู้แสวงหา, บุคคลผู้ แสวงหาความดี, บุคคลผู้ปรารถนาดี. วิ. สิวํ อิจฺฉตีติ อิสิ. อิสฺ คเวสนอิจฺฉาสุ, อิ. อิสิ เป็นชื่อของพระอิรยะ เป็นพระนามของ พระพุทธเจ้า ก็มี. ส. ฤษิ.
  17. อิสิคิลิ : ป. ชื่อภูเขาในแคว้นมคธ
  18. อิสิปตน : นป. การตกไปของฤษี, ชื่อของสถานที่ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงปฐมเทศนา
  19. อีสขร : ป. ชื่อภูเขา
  20. อีสธร : (ปุ.) อีสธร ชื่อภูเขาสัตตปริภัณฑ์ ลูก ๑ ใน ๗ ลูก, ภูเขาอีสธร. วิ. อีสํ มหิสฺสรํ ธาเรติ ตสฺส นิวาสนฏฺฐาน ตาติ อีสธโร. อีสปุพฺโพ, ธรฺ ธารเณ, อ. ดู อิสธร ด้วย.
  21. อุกฺกฏฺฐา : (อิต.) อุกกัฏฐา ชื่อนคร ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ. อุกฺก บทหน้า ธรฺ ธาตุ อ ปัจ. แปลง ธรฺ เป็น ฐ ซ้อน ฏฺ. อุกฺกฏฺฐิ
  22. อุจฺฉุรโสท : (ปุ.) อุจฉุรโสทะ ชื่อทะเล?
  23. อุชฺเชนิ อุชฺเชนี : (อิต.) อุชเชนี ชื่อนคร พิเศษของอินเดียโบราณ ๑ ใน ๒๐ วิ. อุคฺคํ ริปุ ชยติ ยตฺถ สา อุชฺเชนี. อุคฺคปุพฺโพ, ชี ชเย, ยุ. ลบ คฺค ซ้อน ช. อิ อี อิต.
  24. อุชฺเชนี : อิต. ชื่อเมืองในอินเดีย
  25. อุณฺหีส : (ปุ. นปุ.) เครื่องประดับหน้า, วงหน้า, กรอบหน้า, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ รูปมงกุฏอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า), มงกุฎ พระมงกุฎ ชื่อเครื่องราชกกุธภัณฑ์อย่างที่ ๑ ใน ๕ อย่าง ; ผ้าโพก, หัวบันได, ราว บันได. อุปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, อีโส, วณฺณวิกาโร (เปลี่ยนอักษรคือ แปลง น เป็น ณ). เป็น อุณฺหิส บ้าง. ส. อุษฺณีษ.
  26. อุตฺตรกุรุ : (ปุ.) อุตตรกุรุ ชื่อทวีปใหญ่ ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. ธมฺมตา สิทฺธสฺส ปญฺจสีลสฺส อานุภาเวน กํ สุขํ อูรุ มหนฺต เมตฺถาติ กุรุ. กุ  ปาป รุนฺธนฺติ เอตฺถาติ วา กุรุ. กวิ. อุตฺตโร อุตฺตโม กุรุ อุตฺตรกุรุ.
  27. อุตฺตรนิกาย : (ปุ.) อุตตรนิกาย ชื่อนิกายสงฆ์ ในพระพุทธศาสนา เป็นนิกายฝ่ายเหนือ ได้แก่ ฝ่ายมหายาน.
  28. อุตฺตรผคฺคุณี : (อิต.) อุตตรผัคคุณี ชื่อดาว ฤกษ์กลุ่มที่ ๑๒ ใน ๒๗ กลุ่ม, ดาวเพดาน.
  29. อุตฺตราสาฬฺห : (ปุ.) อุตตราษาฒ ชื่อดาว ฤกษ์กลุ่มที่ ๒๑ มี ๕ ดวง, ดาวแตรงอน. ส. อุตฺตราษาฒ.
  30. อุตฺตริมนุสฺสธมฺม : (ปุ.) ธรรมของมนุษย์ ผู้ยิ่ง, ฯลฯ, ธรรมอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, คุณอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, อุตตริมนุสธัม. อุตตริมนุษยธรรม คือคุณธรรม (ความดี ผล) อันเกิดจากการปฏิบัติสมถะ (สมาธิ) ถึงขั้นจิตเป็นอัปปนา หรือจากการปฏิบัติ วิปัสสนาถึงขั้นละกิเลสเป็นสมุจเฉท มีคำ เรียกคุณธรรมนั้น ๆ อีกหลายคำ พระพุทธ เจ้าทรงห้ามภิกษุอวด ปรับอาบัติขั้นสูงถึง ปาราชิก วิ. อุตฺตริมนุสฺสานํ ญายินญฺเจว อริยานญฺจ ธมฺโม อุตฺตริ มนุสฺสธมฺโม.
  31. อุทกปุญฺชนิ : (อิต.) กระบอกกรองน้ำ, ธัมกรก, ธมกรก ชื่อบริขารอย่าง ๑ ใน ๘ อย่างของ นักบวช.
  32. อุทฺทก : (ปุ.) อุททกดาบส ชื่อดาบสซึ่ง พระมหาบุรุษ เสด็จเข้าไปศึกษาลัทธิตอน ผนวชใหม่ ๆ และทรงได้อรูปฌานที่ ๔ จากสำนักนี้.
  33. อุทฺเทส : (ปุ.) การยกขึ้นแสดง, การยกขึ้น ชี้แจง, การยกขึ้นอ้างอิง, การแสดง, การชี้แจง, การบรรยาย, การสวด, คำชี้แจง, คำอธิบาย, พระปาติโมกข์ ชื่อพระบาลีที่ ยกขึ้นสวดทุกกึ่งเดือน, อุเทศ คือ การจัด อย่างสังเขปรวมเป็นข้อ ๆ ไว้ การสอน หรือการเรียนพระบาลี. อุปุพฺโพ, ทิสฺ ปกาสนอติสชฺชเนสุ, โณ, ทฺสํโยโค. ส. อุทฺเทศ.
  34. อุทฺธก : (ปุ.) อุทธกะ ชื่อกลองชนิดหนึ่ง, กลองหน้าเดียว. วิ. อุทฺธํ กายติ สทฺทายตีติ อุทฺธโก. อุคฺคจฺฉตีติ วา อุทฺธโก. อุปุพฺโพ, คมฺ คติยํ. โก, คมสฺส โธ.
  35. อุทย : (ปุ.) การขึ้น, การตั้งขึ้น, การโผล่ขึ้น, การเกิดขึ้น, อุทัย ชื่อภูเขาข้างบูรพทิศ, อุทัย การโผล่ขึ้นแห่งดวงอาทิตย์. อุปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ, ทฺอาคโม. ส. อุทย.
  36. อุปคุตฺต : (ปุ.) อุปคุต ชื่อพระเถระ.
  37. อุปติสฺส : (ปุ.) อุปติสสะ ชื่อเดิมของพระสารีบุตร. แปลโดยอรรถแปลว่า พระสารีบุตร ก็ได้.
  38. อุปธิ : (ปุ.) รูป, ร่าง, ร่างกาย, จักร, กิเลส เครื่องยังทุกข์ให้เข้าไปตั้งไว้, กิเลสเครื่อง เข้าไปทรง, กิเลสเครื่องทรงทุกข์ไว้, กิเลส ชื่ออุปธิ, กิเลศ, ความพัวพัน. อุปปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. ส. อุปธิ.
  39. อุปฺปลก : ป. คล้ายดอกบัว; ชื่อนรกขุมหนึ่ง
  40. อุปริภทฺทก : ป. ชื่อต้นไม้, ต้นชบา
  41. อุปวฺหยติ : ก. เรียก, ร้องเรียก
  42. อุปสคฺค : (ปุ.) อันตรายเครื่องเข้าไปข้องอยู่, อันตรายเข้าไปขัดข้องอยู่, อันตรายเข้าไป ขัดข้อง, อันตรายเครื่องขัดข้อง, อันตราย เครื่องขัดขวาง, สิ่งที่เข้าไปขัดข้อง, สิ่งที่ เข้าไปขัดขวาง, สิ่งที่กีดขวาง, อันตราย, จัญไร (ความเป็นเสนียด). วิ. อุปคนฺตวา สชติ ปกาเสตีติ อุปสคฺโค. อุปปุพฺ โพ, สชฺ วิสชฺชนาทีสุ, โณ. ไวยากรณ์เรียกคำ ชนิดหนึ่งสำหรับ นำหน้านามและกิริยาให้วิเศษขึ้น มี อติ เป็นต้น ว่า อุปสรรค. ส. อุปสรฺค.
  43. อุปาลี : (ปุ.) พระอุบาลี ชื่อพระเถระ.
  44. อุโปสถ : (ปุ.) อุโปสถะ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ที่ ๙ ใน ๑๐ ตระกูล ช้างตระกูลนี้มีสีเป็นสี ทองคำ วิ. อุโปสถกุเล ชาตตฺตา อุโบสโถ. ณ ปัจ. ฎีกาอภิฯ เป็น นปุ.
  45. อุพฺภตก : (ปุ.) อุพภตกะ ชื่อท้องพระโรง ของเจ้ามัลละ.
  46. อุพฺภิท : (ปุ.) อุพภิทะ ชื่อเกลืออย่างที่ ๔ ใน ๕ อย่าง เป็นเกลือที่เกิดในนาเกลือชื่อ รุมะ ในสัมพรี- ประเทศ, เกลือ.
  47. อุรุเวล : (ปุ.) ประเทศชื่อ อุรุเวละ, อุรุเวล ประเทศ.
  48. อุรุเวลกสฺสป : (ปุ.) อุรุเวลกัสสป ชื่อชฏิลผู้ เป็นพี่ใหญ่ แห่งชฏิลสามพี่น้อง ภายหลัง เลื่อมใสในพระพุทธศาสนาและขอบวช.
  49. อุรุเวลา : (อิต.) กองทราย, กองทรายใหญ่, แดนทราย, อุรุเวลา ชื่อตำบลที่พระมหา บุรุษไปทำความเพียรและได้ตรัสรู้.
  50. อุลฺลปติ : ก. พูดอวด, พูดหลอก, ร้องเรียก
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | [1151-1200] | 1201-1233

(0.0553 sec)