Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: บัด , then บด, บัด, ปตฺ, ปัด .

ETipitaka Pali-Thai Dict : บัด, 128 found, display 51-100
  1. อุปปตฺติ : (อิต.) การเข้าถึง, ความเข้าถึง, อุปบัติ. อุปปุพฺโพ, ปทฺ, คติยํ, ติ. ดู อุปฺปตฺติ ด้วย.
  2. ธมฺมานุธมฺมาปฏิปตฺติ : (อิต.) การปฏิบัติซึ่ง ธรรมอันสมควรแก่ธรรม, การปฏิบัติ ธรรมสมควรแก่ธรรม, ธัมมานุธัมมปฏิบัติ คือการประพฤติความดีตามสมควรแก่ ฐานะและภาวะของตน.
  3. นิพฺพานปตฺติ : อิต. การบรรลุพระนิพพาน
  4. นิโรธสมาปตฺติ : (อิต.) การเข้าสู่นิโรธ (เป็น วิธีพักผ่อนของท่านผู้ได้ฌาน.) นิโรธ ในคำนี้ได้แก่การดับสัญญาและเวทนา.
  5. ปฏิปตฺติ : อิต. การปฏิบัติ, ข้อปฏิบัติ, ความประพฤติ
  6. ผลสมาปตฺติ : (อิต.) สมาบัติอันประกอบพร้อมแล้วด้วยผล.
  7. วิปฺปฏิปตฺติ : อิต. การปฏิบัติผิด
  8. สมฺมาปฏิปตฺติ : (อิต.) การปฏิบัติดี, การปฏิบัติชอบ, การปฏิบัติโดยชอบ, ความปฏิบัติดี, ฯลฯ.
  9. สมาปตฺติ : (อิต.) การถึงทั่วพร้อม, การบรรลุ, การถึง, การเข้า, สมาบัติ(การบรรลุฌาน การเข้าฌาน). สํ อา ปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ติ.
  10. อนุปตฺติ : อิต. การเข้าถึง, การบรรลุ
  11. อภิปตฺติก : ค. ผู้บรรลุ, ผู้ได้ประสพ
  12. อาจารวิปตฺติ : (อิต.) อันเคลื่อนคลาดโดยความประพฤติ, อาจารวิบัติ, (เสียมารยาททางความประพฤติ, ความประพฤติเสีย).
  13. อุปตฺติเหตุ อุปฺปตฺติเหตุ : (ปุ.) เหตุแห่งการบังเกิด, ฯลฯ. อุบัติเหตุ ไทยใช้ในความหมายว่า เหตุที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดฝัน เหตุที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด.
  14. อุปฺปตฺติ : อิต. การอุบัติขึ้น, การเกิดขึ้น
  15. อุปปตฺติก : ค. ผู้เกิด, ผู้กลับมาเกิด
  16. อุปปตฺติเทว : ป. เทวดาโดยกำเนิด
  17. นิปตน : (นปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, การตก, การหล่น, การล้ม, การตกไป, ฯลฯ, ความตก, ฯลฯ. นิปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, ยุ.
  18. นิปาต : (ปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, การตก ไปในระหว่าง, การไม่เปลี่ยนแปลง, การประชุม, ความตก, ความตกไป, ความไม่เปลี่ยนแปลง, นิบาต คือคำเรียก อัพยย- ศัพท์มี ป เป็นต้น อีกอย่างหนึ่งเรียก คัมภีร์ในพระพุทธศาสนา. นิปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นิปาต.
  19. สนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุม, การประชุมกัน, ที่ประชุม, สันนิบาต. คำ สันนิบาต ไทยใช้เป็นชื่อของไข้ชนิดหนึ่ง มีอาการสั่นเทิ้มและเพ้อ. สํ นิ ปุพฺโพ, ปตฺ คติยํ, โณ. ส. สนฺนิปาต.
  20. สมฺปาต : (ปุ.) ฝนตกหนัก, ห่าฝน. วิ. สํ อโธ ปตตีติ สมฺปาโต. สํปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, โณ.
  21. สีหปฺปปาต : (ปุ.) สีหัปปปาตะ ชื่อสระใหญ่ สระ ๑ ใน ๗ สระ วิ. สีหา ปปตนฺติ อสฺมินฺติ สีหปฺปปาโต. สีห ป ปุพฺโพ, ปตฺ ปตเณ, โณ.
  22. อุปฺปาต อุปฺปาท : (ปุ.) กาลเป็นที่บังเกิดขึ้น, อาเพศแห่งดินฟ้าอากาศ แสดงผลดีผลชั่ว, ลางชี้ผลดีและผลชั่ว, อุบาต อุบาท (เหตุ การณ์ที่เกิดขึ้นผิดปกติ). วิ. สุภาสุภผลํ ปกาเสนฺโต อุปฺปตฺตีติ อุปฺปาโต, ปตฺ คติยํ, โณ, ปฺสํโยโค. การเกิดขึ้น, การบังเกิดขึ้น, เหตุ. วิ. อุปฺปตฺติ อุปฺปาโต. ศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ท. ส. อุตฺปาต อุตฺปาท.
  23. ฆสน : (นปุ.) การขัด, การสี, การเช็ด, การถู, การเคี้ยว, การกิน, การเคี้ยวกิน. ยุ ปัด
  24. ปตฺต : (นปุ.) การตก, การตกไป. ปตฺ ปตเน, โต.
  25. อุปฺปตน : (นปุ.) การขึ้น, การเกิดขึ้น, การอุบัติ, ความขึ้น, ฯลฯ. อุปุพโพ. ปตฺ คติยํ, ยุ. ซ้อน ปฺ.
  26. กาจ : (ปุ.) สาแหรก, จักษุโรค (โรคตาชนิด หนึ่ง), กระจก กาจมโย ปตฺโต ธาเรตพฺโพ. ภิกษุไม่พึงใช้บาตรกระจก ไตร. ๗ / ๓๔. โบราณแปลว่าแก้วหุง. กจฺ พนฺธเน, โณ.
  27. ขุทฺทปาทป : (ปุ.) กอไม้ วิ. ขุทฺโท อวุทฺธิป- ปตฺโต ปาทโป ขุทฺทปาทโป.
  28. ฆสน : นป. การขัด, การสี, การถู, การบด
  29. จมร, - มรี : ป. จามรี, ชื่อเนื้อทรายมีขนอ่อนละเอียด หางยาวเป็นพู่สัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค
  30. จุณฺณิต : กิต. (อันเขา) บด, ขยี้, ทำให้แหลก, ทำให้ละเอียดแล้ว
  31. จุณฺเณติ : ก. บด, ขยี้, ทำให้แหลก, ทำให้ละเอียด
  32. ตุจฺฉปตฺตหตฺถ : (วิ.) ผู้มีบาตรเปล่าในมือ วิ. ตุจฺโฉ ปตฺโต ตุจฺฉปตฺโต.ตุจฺฉปตฺโตหตฺเถสุ ยสฺส โส ตุจฺฉปตฺตหตฺโถ.
  33. ทุกฺขปปตฺต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งทุกข์ วิ. ทุกฺขํ ปตฺโต ทุกฺขปฺปตฺโต.
  34. นิทฺธนฺต : ค. ซึ่งขจัดแล้ว, ถูกปัดเป่าออกแล้ว, ซึ่งสะอาด
  35. นิทฺธมติ : ก. ขจัดออก, ปัดออก, เป่าออก, สะอาด, บริสุทธิ์
  36. นิปฺโปฐน : นป. การตี, การโบย, การบด, การกด, การขยี้, การทำลาย
  37. นิสท : ป. หินบด, หินลับมีด
  38. นิสทโปต, -ก : ป. ลูกหินบด
  39. ปณุทติ : ก. บรรเทา, ปัดเป่า
  40. ปตฺตชีวก : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งการเลี้ยงชีพ วิ. ชีวิกํ ปตฺโต ปตฺตชีวโก. กลับบทหน้าไว้หลัง รูปฯ ๓๓๖.
  41. ปตฺตยาน : (นปุ.) สัตว์ผู้ไปด้วยปีก, นก. วิ. ปตฺเตน ยาตีติ ปตฺตยาโน. ยา คติยํ, ยุ.ปตฺตํ ยานํ เอตสฺสาติ ปตฺตยาโน (มีปีกเป็นยาน). ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  42. ปิส : ค. บดแล้ว, สีแล้ว, ขยำแล้ว
  43. ปิสติ, (ปึสติ) : ก. บด, ขยำ, คั้น
  44. ปิสน, (ปึสน) : นป. การบด, การขยำ, การทำลาย
  45. ปิสิต : ๑. นป. เนื้อ ; ๒. ค. อันเขาบด, อันเขาขยำ, อันเขาทำลายแล้ว
  46. ปิสีล : นป. หน้าปัดนาฬิกา, ถาด, บาตร
  47. ปึสติ : ก. บด, สี, ขยำ
  48. เปรณ : (นปุ.?) อันบด, อันขยี้, อันย่ำ, อันทำให้ละเอียด, การบด,ฯลฯ. ปิสฺจุณฺณเน, ยุ. แปลง ส เป็น ร อิ เป็น เอ.
  49. เปสุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งวาจาอันบดเสียซึ่งประโยชน์. ปิสุณ หรือ ปิสุน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ เป็น เอ แปลง ณฺย (คือ ณ ที่สุดศัพท์เมื่อลบ อ แล้วกับ ย ปัจ. เมื่อลบ ณฺ แล้ว) เป็นญฺญ หรือ นฺย (คือที่สุดศัพท์เช่นกัน) เป็น ญฺญ.
  50. โปถน : (นปุ.) อันโปย, อันตี, อันทุบ, อันบด, อันขยี้, การโบย, ฯลฯ. โปถฺ ปริยา-ปนภาเว, ยุ.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-128

(0.0475 sec)