Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: จุน , then จน, จุน, จูน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : จุน, 133 found, display 51-100
  1. มุขสงฺโกจน : นป. การทำปากหมุบหมิบแสดงความไม่พอใจ
  2. มุจฺจน : (นปุ.) การหลุด, การพ้น, การปล่อย, การวาง, ความหลุด, ฯลฯ. มุจฺ โมจเน, ยุ. ซ้อน จฺ.
  3. มุญฺจน : (นปุ.) การแก้, การปลง, การเปลื้อง, การปล่อย, การสละ, การละ. มุจฺ โมจเน, ยุ, นิคฺคหิตคโม.
  4. รุจฺจน : นป. ความพอใจ, ความชอบใจ, ความยินดี
  5. เรจน : นป. การส่งออกไป
  6. วจนกร : ค. ผู้เชื่อฟังคำ
  7. วญฺจน : นป., -นา อิต. การล่อลวง, การคดโกง
  8. วาจน : นป. การกล่าว, การสวด, การอ่าน
  9. วิเรจน : นป. ดู วิเรก
  10. เววจน : นป. คำมีรูปต่างกัน แต่ความหมายเหมือนกัน, ไวพจน์
  11. สกิญฺจน : ค. มีความกังวล
  12. สิญฺจน : นป. การรดน้ำ
  13. สิญฺจ สิญฺจน : (นปุ.) การรด, การราด. สิจุ ปคฺฆรเณ, อ, ยุ. ลงนิคคหิตอาคมประจำหมวดธาตุ.
  14. สุทฺธวจน : (นปุ.) คำหมดจด, ฯลฯ, คำถูก.
  15. สูจน : (นปุ.) การแต่ง, ฯลฯ, คำชี้แจง, คำประกาศ, คำแสดง, คำบ่ง, คำระบุ, การส่อเสียด, คำส่อเสียด. ยุ ปัจ.
  16. เสจน : (วิ.) เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, สูงสุด, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, ประเสริฐที่สุด. วิ. สพฺเพ อิเม ปสตฺถา, อยมิเมสํ วิเสเสน ปสตฺโถติ เสฏโฐ. ปสตฺถ+อิฎฺฐ ปัจ. แปลง ปสตฺถ เป็น ส รูปฯ. ๓๗๖ และอภิฯ.
  17. หตฺถลญฺจน หตฺถลญฺฉน : (นปุ.) ลายเซ็น, ลายมือ, ลายมือชื่อ.
  18. อกิญฺจน : (วิ.) มีกิเลสเครื่องกังวลไม่มี, ไม่มีกิเลสเครื่องกังวล, ไม่มีกิเลสชาตเครื่องกังวล, ไม่มีความกังวล, ไม่มีห่วงใย, ปลอดโปร่ง. นปุพฺโพ, กิจิ มทฺทเนทเน, ยุ, นิคฺคหิตาคโม,
  19. อจฺจน : (นปุ.) การถวายการเซ่นสรวง, การบูชา, ความนับถือ.วิ. อจฺจียเตติ อจฺจนํ อจฺจนา วา. อจฺจฺปูชายํ, ยุ
  20. อญฺจน : (นปุ.) การไป, การถึง.การเป็นไป, การบูชา, การเคราพ, การนับถือ.อญฺจุคติปูชนาสุ, ยุ.
  21. อธิมุจฺจน : (นปุ.) ความน้อมใจเชื่อ, ความแน่ใจอธิ+มุจฺ+ย ปัจ.ประจำธาตุ ยุ ปัจ.
  22. อนุโสจน : นป. ความเศร้าโศก, ความรำพึงถึง
  23. อภิวญฺจน : นป. การล่อลวง, การโกง, เล่ห์เหลี่ยม
  24. อภิสิญฺจน : นป. การอภิเษก, การประพรม, การถวายน้ำศักดิ์สิทธิ์ให้เป็นพระราชา, การแต่งตั้ง, การบรรลุ
  25. อภูตอภูตวจน : (นปุ.) คำไม่เป็นแล้ว, คำไม่จริงแล้ว, คำไม่จริง, คำไม่เป็นจริง, คำเท็จ
  26. อภูต อภูตวจน : (นปุ.) คำไม่เป็นแล้ว, คำไม่ จริงแล้ว, คำไม่จริง, คำไม่เป็นจริง, คำเท็จ
  27. อลิกอลิกวจน : (นปุ.) คำเหลาะแหละ, ฯลฯ.
  28. อวจน : นป. ไม่ใช่ถ้อยคำ, ไม่ใช่คำกล่าว, วาจาที่ผิด
  29. อวจนกร : ค. อันไม่กระทำตามคำ
  30. อวญฺจน : (วิ.) ไปไม่ได้, เดินไม่ได้.นปุพฺโพ, วญฺจุคติยํ, ยุ.
  31. อเสจน : (วิ.) ยังปิติแห่งจิตและนัยน์ตาให้เกิด, ชื่นใจ, ชื่นตา, หน้าตาชื่นบาน, หน้าตาเบิกบาน, ยั่วยวน.จิตฺตสฺสอกฺขิโนจปิติชนกํวตฺถุอเสจนํนาม.
  32. อเสจน, - นก : ค. ไม่ระคนกัน, เป็นที่ชื่นชมยินดี, มีเสน่ห์
  33. อาสิญฺจ อาสิญฺจน : (นปุ.) การรด, การหลั่ง, การประพรม, การโปรย. อาปุพฺโพ, สิจฺ ปคฺฆรเณ, อ. ยุ.
  34. อุทญฺจน : นป. กระบวยตักน้ำ, ถังน้ำ
  35. อุทฺธวิเรจน : นป. การอาเจียน ; การจาม
  36. อุปโยควจน : (นปุ.) การกล่าวถึงสิ่งที่ถูกประกอบ, การกล่าวถึงสิ่งที่ถูกทำ, ทุติยาวิภัติ.
  37. อุปเสจน : นป. ผงชูรส
  38. อุลฺลุญฺจน : นป. การโกน
  39. อุสฺสิญฺจน : นป. การวิดน้ำ, การตักน้ำ
  40. เอกวจน : (นปุ.) คำกล่าวถึงสิ่งเดียว, การกล่าวถึงสิ่งสิ่งเดียว, คำที่กล่าวถึงสิ่งสิ่ง เดียว, เอกวจนะ.
  41. จิ : (อัพ. นิบาต) เมื่อ, บางที. ดู จน ด้วย.
  42. กณฺหอญฺชน : นป. การขัดจนเป็นมัน, การขัดให้เป็นเงา
  43. กากมาสก : (ปุ.) กากมาสกะ ชื่อคนที่บริโภค มากล้นขึ้นมาถึงขอบปาก จนนกกาอาจ จิกกินได้.
  44. กิญฺจญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี ความกังวล, ฯลฯ. กิญฺจน+ณฺย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺ ลบ ณฺ รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ.
  45. กุมฺภี : (อิต.) หม้อ, ขวด, ตุ่ม. วิ. กุยา ปฐวิยา ภวตีติ กุมฺภี. กุปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, โณ, อิตฺถิยํ อี, นิคฺคหิตาคโม. เกณ อคฺคินา ภวติ เตเนว ปจนภาวโตติ วา กุมฺภี. กปุพฺโพ, ภู สตฺตายํ, โณ, อสฺสุ, นิคฺคหิตาคโม. เกน ชเลน อุมภียตีติ กุมฺภี. อุภฺ อุมฺภฺ วา ปูรเณ, กมุ อิจฺฉายํ วา, โภ, อสฺสุ, อิตถิยํ อี.
  46. ขีร : (นปุ.) น้ำนม, นม (น้ำที่รีดมาจากเต้านม), นมสด, กษีร, เกษียร. วิ. ขียติ ทุหเณนาติ ขรํ. ขี ขเย, อีโร, โร วา. นมที่รีดออกมา ใหม่ๆ เรียก ขีระ ขีระนั้นทิ้งไว้จนเปรี้ยว เรียก ทธิ ทธินั้นเจียวขึ้นเรียก ตักกะ ตักกะนั้นเจียวขึ้นเรียก นวนีตะ นวนีตะนั้น เจียวขึ้นเรียก สัปปิ. ส. กฺษีร.
  47. คณฺฐิปาส : ป. บ่วง, แร้ว, จั่น, เครื่องล่ามเท้า
  48. เจโตวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยอำนาจ แห่งใจ. ความหลุดพ้นที่มีสมาธิเป็น ปทัฏฐาน คือได้บรรลุฌานมาก่อนแล้วจึง บำเพ็ญวิปัสสนาต่อจนละกิเลสาสวะได้ เรียกว่า เจโตวิมุติ. ลำพังฌาน ไม่สามารถ ละกิเลสาสวะได้เด็ดขาด เป็นแต่สะกดไว้ อย่าเข้าใจผิด.
  49. ตตฺถวฎฺฏก : (ปุ.) ตัตถวัฏฏกะ ชื่อคนที่บริโภค มากจนลุกไม่ขึ้น (นอน) กลิ้งเกลือกอยู่ ในที่นั้น.
  50. ทนฺตวิทสก : ค. ซึ่งเปิดเผยฟัน, (การหัวเราะ) จนเห็นฟัน
  51. 1-50 | [51-100] | 101-133

(0.0204 sec)