Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เห็นด้วย, เห็น, ด้วย , then ด้วย, หน, เห็น, เห็นด้วย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เห็นด้วย, 1566 found, display 251-300
  1. คณพนฺธิก : ค. ซึ่งพัวพันด้วยหมู่คณะ
  2. คณสงฺคนิก : ค. อันเกี่ยวข้องด้วยหมู่, อันนับเนื่องในหมู่
  3. คนฺธกุฏี : (อิต.) กุฏีอบแล้วด้วยของหอมอันเป็น ทิพย์ วิ. ทิพฺพคนฺเธหิ ปริภาวิตา กุฏี คนฺธกุฏี. พระคันธกุฎี กุฎิที่พระพุทธเจ้า ประทับ วิ. ชินสฺส วาสภูตํ ภวนํ คนฺธกุฎี นาม.
  4. คนฺธธาร : (ปุ.) คันธาระ ชื่อชนบทพิเศษของ อินเดียโบราณ วิ. คํ ปฐวึ ธาเรนฺตีติ คนฺธารา. กิตฺติคนฺเธน อรนฺตีติ วา คนฺธารา. เป็นชื่อของสระน้ำด้วย.
  5. คนฺธปญฺจงฺคุลิก : นป. เครื่องหมายนิ้วมือทั้งห้าที่บุคคลเจิมแล้วด้วยวัตถุมีกลิ่นหอม
  6. คนฺธมาทน : (ปุ.) คันธมาทน์ ชื่อภูเขา เป็น ยอดของทิวเขาหิมาลัย ยอดที่ ๑ ใน ๖ ยอด, ภูเขายาหอม, ภูเขาอันยังสัตว์ผู้ถึง พร้อมให้เมาด้วยกลิ่น. วิ. อตฺตนิ สญฺชาต- คนฺธพฺพานํ คนฺเธหิ มทยติ โมทยตีติ วา คนฺธมาทโน. คนฺธปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, ยุ. อรรถกถาสัมภวชาดก ติงสนิบาต วิ. สมฺปตฺตํ ชนํ คนฺเธน มทยตีติ คนฺธมาทโน. เวสฯ ๕๑๑.
  7. คนฺธารกาสาววตฺถ : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยน้ำฝาดอันบังเกิดแล้วในเมืองคันธาระ. เป็นวิเสสนปุพ. กัม มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. และ ส. ตัป. เป็นภายใน.
  8. คนฺธาเลป : นป. การลูบไล้ด้วยของหอม
  9. คพฺภสหสฺสปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ประดับแล้วด้วย พันแห่งห้อง.
  10. ควปาน : นป. ขนมที่ทำด้วยข้าวผสมนมโค
  11. คหฏฺฐ : (ปุ.) คนผู้ดำรงอยู่ในเรือน, คนครอง เรือน, คหัฐ คฤหัสถ์ (คนครองเรือน ไม่ ใช่นักบวช). วิ. เคเห ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ คนผู้ดำรงอยู่ในป่าคือกิเลส, คนผู้ดำรงอยู่ ในเรือนด้วยสามารถแห่งความกำหนัด ในกามคุณห้า วิ. เคเห ปญฺจกามคุเณ ราควเสน ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ. คหปุพฺโพ ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ.
  12. คาถาภิคีต : ค. ซึ่งได้มาด้วยการท่องคาถา, ได้มาด้วยการขับร้อง
  13. คามสีมา : (อิต.) สีมากำหนดด้วยเขตบ้าน, สีมามีเขตบ้านเป็นกำหนด.
  14. คาหปจฺจ : (ปุ.) คาหปัจจะ ชื่อไฟอย่างหนึ่ง, ไฟอันประกอบด้วยพ่อเจ้าเรือน วิ. คหปตินา สํยุตฺโต อคฺคิ คาหปจฺโจ. ไฟอัน ควรบูชาคือ พ่อเจ้าเรือน. คหปติ ศัพท์ ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง ปติ เป็น ปจฺจ.
  15. คิญฺชกาวสถ : ป. บ้านเรือนหรือสถานที่ที่สร้างขึ้นด้วยอิฐหรือมุงด้วยกระเบื้อง
  16. คิมฺหิก : ค. มีความร้อน, อันมีในฤดูร้อน, เนื่องด้วยความร้อน
  17. คุณวุฑฺฒ : (วิ.) ผู้เจริญแล้วด้วยความดี, ผู้ เจริญแล้วโดยความดี, ผู้เจริญด้วยคุณ, ผู้ เจริญโดยคุณ.
  18. คุณวุฑฺฒิ : (อิต.) ความเจริญด้วยความดี, ฯลฯ, คุณวุฒิ (ความสามารถที่เหมาะสมแก่ ตำแหน่งหน้าที่)
  19. คุณสขฺยา : (อิต.) การนับด้วยวิธีคูณ, การคำนวนด้วยวิธีคูณ.
  20. คุณาธิก : (วิ.) ผู้ยิ่งด้วยความดี, ผู้ยิ่งด้วยคุณ.
  21. คุมฺพ : (ปุ.) กอ, กอไม้, พง, พุ่ม, พุ่มไม้, ซุ้ม ไม้, สุมทุม (ซุ้มไม้ที่ปกคลุมด้วยต้นไม้ และเถาวัลย์) หมู่, พวก, ฝูง, ประชุม, กอง, คณะ, กลุ่มก้อน, กองทหาร, ขบวนทัพ, เสา. คุปฺ รกฺขเณ, โพ, ปสฺส โม. คุมฺพฺ คุมฺพเน วา, อ.
  22. คุโฬทน : (ปุ.) ข้าวสุกผสมด้วยน้ำตาลอ้อย วิ. คุเฬน สํสฏฺโฐ โอทโน คุโฬทโน.
  23. คูถนรก, - นิรย : นป. คูถนรก, นรกที่เต็มไปด้วยคูถ
  24. คูถภกฺข : ค. ผู้มีคูถเป็นภักษาหาร, ผู้กินคูถ, ผู้เป็นอยู่ด้วยคูถ
  25. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  26. โคกณฺฏกหต : (วิ.) ดื่นดาษด้วยระแหงกีบโค.
  27. โคณก : ป. พรมทำด้วยขนสัตว์
  28. โคณก โคนก : (ปุ.) ผ้าโกเชาว์ใหญ่ชิ้นยาว, อาสนะพิเศษประกอบด้วยขนยาว, ผ้า สักหลาดขนยาว, พรม, กุ สทฺเท, ยุ, สกตฺเถ โก, อุสฺโสตฺตํ. ฎีกาอภิฯ ทีเฆน โลเมน ยุตฺโต อาสนปฺปเภโท โคนโก นาม.
  29. โคเมธ : ป. โคเมธ, การบวงสรวงด้วยโค, การเอาโคบูชายัญ
  30. โควินฺท : (ปุ.) สัตว์ผู้เป็นหัวหน้าของโค,พญาโค. วิ. ควํ คุณฺณํ อินฺโท โควินฺโท. โค+อินฺท วฺ อาคม. เจ้าของโค วิ. ควํ อินฺโท อธิกโต ชโน โควินฺโท. ควํ วินฺทตีติ วา โควินฺโท. โคปุพฺโพ, วิทฺ ลาเภ, อ. และยังแปลว่า เจ้าของวัวควาย, หัวหน้าคนเลี้ยงสัตว์, นาย โคบาล, พระกฤษณะ, พระพฤหัสบดี อีกด้วย.
  31. โควิส โควุสก : (ปุ.) วัวถึก วัวเถลิง ( วัวเปลี่ยว วัวหนุ่ม ). โค+วสุ (คะนอง). ศัพท์ต้นแปลง อุ เป็น อิ ศัพท์หลัง ก สกัด. มีต้นไม้ชนิด หนึ่งชื่อ วัวเถลิง จะหมายถึงด้วยหรือไม่ ?
  32. โคสิต : ค. อันผสมด้วยน้ำนมโค
  33. ฆฏิกา : (อิต.) ลิ่ม, ไม้หึ่ง ชื่อการเล่นชนิดหนึ่ง โดยโยนไม้ท่อนสั้นๆ ขึ้นไป แล้วใช้ไม้ อีกอันหนึ่งตี ใช้ผลมะนาวโยนขึ้นไป แล้ว ตีด้วยมือก็ได้, ชั่วโมง.
  34. ฆณฺฏิก : (ปุ.) คนลาดตระเวน, คนผู้เที่ยวไป ด้วยจักร, คนผู้เที่ยวสดุดีเป็นหมู่. ฆณฺฏฺ ภาสเน, อิโก.
  35. ฆตสิตฺต : ค. อันรดแล้วด้วยเนยใสหรือเปรียง
  36. ฆนกรกวสฺส : (นปุ.) ฝนอันบุคคลพึงถือเอา ด้วยมือโดยความเป็นก้อน, ฝนอันทำซึ่ง ความเป็นแท่ง, ฝนลูกเห็บ.
  37. ฆนสญฺญา : (อิต.) ความสำคัญว่าเป็นก้อน, ความเห็นว่าเป็นตัวเป็นตน.
  38. ฆรสปฺปชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติแห่งงูผู้อาศัยซึ่ง เรือน เป็น อิก ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. มี ทุ. ตัป. และ ฉ. ตัป. เป็น ภายใน. ผู้ประกอบด้วย ชาติแห่งงูในเรือน เป็น ณิก ปัจ. ตรัต๎ยา- ทิตัท. มี ส. ตัป. และ ต.ตัป. เป็น ภายใน
  39. โฆสปฺปมาณิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยประมาณ ในเสียง (เกิดความเลื่อมใสด้วยฟังเสียง ไพเราะ), ผู้ถือประมาณในเสียง. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  40. จกฺกวาล จกฺกวาฬ : (ปุ.) ปริมณฑล, จักรวาล, จักรวาฬ. ปัจจุบัน ไทยใช้แต่คำจักรวาล น่าจะคงคำจักรวาฬไว้ด้วย.
  41. จกฺกิก : (ปุ.) คนเที่ยวไปด้วยจักร, คนลาดตระ เวน. ณิกปัจ. อภิฯ ลง อิก ปัจ.
  42. จกฺขุ : (นปุ.) ตา ( ธรรมชาติที่เห็นรูปได้ ), นัยน์ตา โดยมากหมายเอา แววตา ประสาท ตา. วิ. จกฺขติ รูปนฺติ จกฺขุ จกฺขฺ ทสฺสเน, อุ. กัจฯ และรูปฯ ลง ณุ ปัจ. จกฺขุ ศัพท์ ใช้ในอรรถ ๕ อย่างคือ พุทฺธจกฺขุ ได้แก่ พุทธญาณ ๑ สมนฺตจกฺขุ ได้แก่พระ สัพพัญญุตญาณ ๑ ปญฺญาจกฺขุ ได้แก่จักษุ คือปัญญา ๑ ธมมจกฺขุ ได้แก่ญาณ ใน มรรคสามเบื้องต้น ๑ มํสจกฺขุ ได้แก่ตา เนื้อ และทิพฺพจกฺขุ ตาทิพ ๑ ส. จกฺษุ.
  43. จกฺขุนฺทฺริย : (นปุ.) อินทรีย์คือจักษุ, จักขุน ทรีย์ (สิ่งที่เป็นใหญ่ในการเห็น).
  44. จกฺขุปสาท : (ปุ.) ประสาทของตา, จักษุประสาท คือเส้นสำหรับนำความรู้สึกของตา ส่วน สำคัญของตาที่ทำให้มองเห็น.
  45. จกฺขุโลล : ค. ผู้คะนองตา, ผู้มีสายตา, ผู้อยากเห็นโน่นเห็นนี่
  46. จกฺขุวิญฺเญยฺย : ค. (สิ่ง) ที่พึงรู้แจ้งด้วยจักษุ
  47. จตุกฺกม : ค. ซึ่งก้าวไปด้วยเท้าสี่, ซึ่งเดินสี่ขา (สัตว์สี่เท้า)
  48. จตุกฺกุณฺฑิก : ค. ผู้เดินด้วยอวัยวะสี่ (มือทั้งสองและเข่าทั้งสอง), ผู้คลาน
  49. จตุคฺคุณ : ค. ซึ่งคูณด้วยสี่, สี่เท้า, สี่ชั้น
  50. จตุจตฺตาลีส จตุจตฺตาฬีส : (อิต.) สี่สิบยิ่งด้วย สี่, สี่สิบสี่. วิ. จตูหิ อธิกา จตฺตาสีสํ จตุจตฺตาลีสํ จตุจตฺตาฬีสํ วา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1566

(0.0995 sec)