Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เห็น , then หน, เห็น .

Eng-Thai Lexitron Dict : เห็น, more than 7 found, display 1-7
  1. clock 1 : (SL) ; เห็น ; Related:สังเกตเห็น
  2. see : (VI) ; เห็น ; Related:รับรู้, เห็นด้วยตา, มองเห็น, รู้ด้วยตา
  3. see : (VT) ; เห็น ; Related:รับรู้, เห็นด้วยตา, มองเห็น, รู้ด้วยตา ; Syn:visualize, behold, know, recognize
  4. clap on 2 : (PHRV) ; เห็น ; Related:ดู ; Syn:lay on, set on
  5. twig 2 : (VT) ; เห็น
  6. Eng-Thai Lexitron Dict : เห็น, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : เห็น, more than 7 found, display 1-7
  1. มลัก : (V) ; see ; Related:behold ; Syn:เห็น
  2. เห็นคุณค่า : (V) ; appreciate ; Related:gratify, acknowledge ; Syn:เห็นค่า ; Ant:ไม่เห็นคุณค่า ; Def:เล็งเห็นถึงสิ่งดีของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ; Samp:ปัจจุบันนี้ ผู้คนเริ่มเห็นคุณค่าของยาสมุนไพรมากขึ้น
  3. เห็นควร : (V) ; see as appropriate ; Related:view as proper, approve of ; Syn:เห็นสมควร ; Def:เห็นว่ามีความเหมาะสม ; Samp:ที่ประชุมเห็นควรส่งเรื่องให้คณะรับมนตรีพิจารณา
  4. เห็นควร : (V) ; see as appropriate ; Related:view as proper, approve of ; Syn:เห็นสมควร ; Def:เห็นว่ามีความเหมาะสม ; Samp:ที่ประชุมเห็นควรส่งเรื่องให้คณะรับมนตรีพิจารณา
  5. เห็นสมควร : (V) ; view as proper ; Related:see as appropriate, consider approve, see as being what should be/happen ; Syn:เห็นควร ; Def:เห็นว่ามีความเหมาะสม ; Samp:ผู้จัดการมีอิสระในการบริหารกิจการ และสามารถจ่ายเงินเดือนให้แก่พนักงานตามจะเห็นสมควร
  6. เห็นสมควร : (V) ; view as proper ; Related:see as appropriate, consider approve, see as being what should be/happen ; Syn:เห็นควร ; Def:เห็นว่ามีความเหมาะสม ; Samp:ผู้จัดการมีอิสระในการบริหารกิจการ และสามารถจ่ายเงินเดือนให้แก่พนักงานตามจะเห็นสมควร
  7. เห็นแย้ง : (V) ; be opposed to ; Related:disagree, dissent ; Syn:ไม่เห็นด้วย, ไม่ยอมรับ, เห็นขัดแย้ง ; Ant:เห็นดี, เห็นด้วย, เห็นพ้องต้องกัน ; Def:มีความเห็นขัดกัน ; Samp:นักศึกษาบางคนเห็นแย้งกับคำสอนของอาจารย์ในบางเรื่อง
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เห็น, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เห็น, more than 5 found, display 1-5
  1. เห็น : ก. อาการของตาที่ประสบรูป, ปรากฏแก่ตา, ปรากฏแก่ใจ, คิดรู้.
  2. เห็นกงจักรเป็นดอกบัว : (สํา) ก. เห็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้อง, เห็นผิดเป็นชอบ ก็ว่า.
  3. เห็นแก่ : ก. มุ่งเฉพาะเพื่อ เช่น เห็นแก่ตัว เห็นแก่พวก เห็นแก่ได้.
  4. เห็นขี้ดีกว่าไส้ : (สํา) ก. เห็นคนอื่นดีกว่าญาติพี่น้อง.
  5. เห็นช้างขี้ ขี้ตามช้าง : (สํา) ก. ทําเลียนแบบคนใหญ่คนโตหรือคนมั่งมีทั้ง ๆ ที่ตนไม่มีกําลังทรัพย์หรือความสามารถพอ, มีความหมายอย่างเดียวกับ เห็นเขาขึ้นคานหาม เอามือประสานก้น หรือเห็นเขาขึ้นคานหาม เอามือ ประสานรัดก้น.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : เห็น, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : เห็น, more than 5 found, display 1-5
  1. เห็นชอบ : ดู สัมมาทิฏฐิ
  2. ดวงตาเห็นธรรม : แปลจากคำว่า ธรรมจักษุ หมายถึงความรู้เห็นตามเป็นจริง ด้วยปัญญาว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมดมีความดับเป็นธรรมดา ดู ธรรมจักษุ
  3. หน : ทิศ เช่น หนบูร (ทิศตะวันออก)
  4. วิญญาณ : ความรู้แจ้งอารมณ์, จิต, ความรู้ที่เกิดขึ้นเมื่ออายตนะภายในและอายตนะภายนอกกระทบกัน เช่น รูปอารมณ์ในเวลาเมื่อรูปมากระทบตา เป็นต้น ได้แก่ การเห็น การได้ยินเป็นอาทิ; วิญญาณ ๖ คือ ๑.จักขุวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางตา(เห็น) ๒.โสตวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางหู (ได้ยิน) ๓.ฆานวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางจมูก(ได้กลิ่น) ๔.ชิวหาวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางลิ้น(รู้รส) ๕.กายวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางกาย (รู้สิ่งต้องกาย) ๖.มโนวิญญาณ ความรู้อารมณ์ทางใจ (รู้เรื่องในใจ)
  5. มิจฉาทิฏฐิ : เห็นผิด, ความเห็นที่ผิดจากคลองธรรม เช่นเห็นว่าทำดีได้ชั่ว ทำชั่วได้ดี มารดาบิดาไม่มี เป็นต้น และความเห็นที่ไม่นำไปสู่ความพ้นทุกข์ (พจนานุกรมเขียน มิจฉาทิฏฐิ)
  6. Budhism Thai-Thai Dict : เห็น, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : เห็น, more than 5 found, display 1-5
  1. เปกฺข : (วิ.) ดู, เห็น, ปรากฏ, เพ่ง, มุ่ง, จดจ่อ. ป+อิกฺขฺ+ณ ปัจ.
  2. ตุมฺหาทิส ตุมฺหาทิสี : (วิ.) ผู้เช่นท่าน, เห็น ราวกะว่าซึ่งท่าน, เห็นราวกะว่าท่าน. วิ. ตุมฺห วิย ทิสฺสตีติ ตุมฺหาทิโส ตุมฺหาทิสี วา. ตุมฺหบทหน้า ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. รูปฯ ๕๗๒.
  3. กีทิส กีทิกฺข กีริส กีริกฺข กีที : (วิ.) เช่นไร, ผู้เช่นไร. วิ. กมิว นํ ปสฺสตีติ กีทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะบุคคลไร, ...ราวกะว่า ใคร). โก วิย นํ ปสฺสตีติ กีทิโส วา (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะ อ. ใคร). กีปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. ลบ นิคคหิต ทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี รูปฯ ๕๗๒. โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๘๗ ลง ริกฺข ปัจ.
  4. ตาทิส ตาทิกฺข ตาริส ตาที : (วิ.) ผู้เช่นนั้น, ผู้คงที่. วิ. ต มิว นํ ปสฺสตีติ ตาทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นดังว่าบุคคลนั้น ). โ ส วิย ทิสฺสตีติ ตาทิโส ( เห็นราวกะว่าคนนั้น ). ต+ทิสฺ+กฺวิ ปัจ. แปลงที่สุดธาตุเป็น ส กฺข อี ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา ศัพท์ที่ ๓ แปลง ทฺ เป็น รฺ รูปฯ ๕๗๒ ส่วนโมคฯ สมาส กัณฑ์๘๘ ตั้ง ตุมฺห เป็นบทหน้า แปลว่า ผู้เช่นนบทหน้า ท่าน วิ. ตฺวมิว ทิสฺสตีติ ตาทิโส ตาทิกฺโข วา ตาริโส วา ตาที วา (เห็นราวกะว่าท่าน). แปลง ตฺวํ เป็น ตา.
  5. ทกฺขติ : ก. เห็น
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : เห็น, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เห็น, more than 5 found, display 1-5
  1. เห็น : ทิฏฺฐฺ, ทสฺสนํ, ปสฺสนํ, ปสฺสติ, อเวกฺขติ, ทิสฺสติ [อิ.]
  2. เห็นด้วย, ถูกต้อง : สเมติ
  3. เห็นปัจจัย ๔ : ปจฺจเวกฺขนฺโต
  4. เห็นแล้ว : อทฺทกฺขิ
  5. เห็นสังขาร : สมฺมสนฺโต
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เห็น, more results...

(0.3074 sec)