Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เห็นสมควร, สมควร, เห็น , then สมควร, หน, เห็น, เห็นสมควร .

Eng-Thai Lexitron Dict : เห็นสมควร, more than 7 found, display 1-7
  1. clock 1 : (SL) ; เห็น ; Related:สังเกตเห็น
  2. see : (VI) ; เห็น ; Related:รับรู้, เห็นด้วยตา, มองเห็น, รู้ด้วยตา
  3. see : (VT) ; เห็น ; Related:รับรู้, เห็นด้วยตา, มองเห็น, รู้ด้วยตา ; Syn:visualize, behold, know, recognize
  4. clap on 2 : (PHRV) ; เห็น ; Related:ดู ; Syn:lay on, set on
  5. Eng-Thai Lexitron Dict : เห็นสมควร, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : เห็นสมควร, more than 7 found, display 1-7
  1. เห็นสมควร : (V) ; view as proper ; Related:see as appropriate, consider approve, see as being what should be/happen ; Syn:เห็นควร ; Def:เห็นว่ามีความเหมาะสม ; Samp:ผู้จัดการมีอิสระในการบริหารกิจการ และสามารถจ่ายเงินเดือนให้แก่พนักงานตามจะเห็นสมควร
  2. เห็นสมควร : (V) ; view as proper ; Related:see as appropriate, consider approve, see as being what should be/happen ; Syn:เห็นควร ; Def:เห็นว่ามีความเหมาะสม ; Samp:ผู้จัดการมีอิสระในการบริหารกิจการ และสามารถจ่ายเงินเดือนให้แก่พนักงานตามจะเห็นสมควร
  3. เห็นควร : (V) ; see as appropriate ; Related:view as proper, approve of ; Syn:เห็นสมควร ; Def:เห็นว่ามีความเหมาะสม ; Samp:ที่ประชุมเห็นควรส่งเรื่องให้คณะรับมนตรีพิจารณา
  4. เห็นควร : (V) ; see as appropriate ; Related:view as proper, approve of ; Syn:เห็นสมควร ; Def:เห็นว่ามีความเหมาะสม ; Samp:ที่ประชุมเห็นควรส่งเรื่องให้คณะรับมนตรีพิจารณา
  5. สมควร : (ADV) ; suitably ; Related:properly, appropriately ; Syn:ควร, เหมาะ, เหมาะสม ; Samp:การบริจาคเงินเพื่อการศึกษา เป็นการใช้เงินเพื่อการกุศลอย่างสมควร
  6. สมควร : (V) ; should ; Related:ought to ; Syn:ควร, เหมาะ ; Samp:เราสมควรพยายามฝึกฝนตนเองให้มีความเข้มแข็งทั้งกายและใจ
  7. ตามที่เห็นสมควร : (ADV) ; as one see / think fit ; Samp:คณะกรรมการเป็นผู้มีอำนาจในการพิจารณากำหนดรายละเอียดของการเสนอขายตามที่เห็นสมควร
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : เห็นสมควร, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : เห็นสมควร, more than 5 found, display 1-5
  1. สมควร : ว. ควรยิ่ง, เหมาะสมยิ่ง, เช่น เขาทำงานดีสมควรขึ้นเงินเดือน ให้ ๒ ขั้น.
  2. เห็น : ก. อาการของตาที่ประสบรูป, ปรากฏแก่ตา, ปรากฏแก่ใจ, คิดรู้.
  3. ขี้ก้อนใหญ่ให้เด็กเห็น : (สํา) ก. ทําสิ่งที่ไม่สมควรให้ผู้น้อยเห็น.
  4. เห็นกงจักรเป็นดอกบัว : (สํา) ก. เห็นสิ่งที่ไม่ถูกต้องว่าเป็นสิ่งที่ถูกต้อง, เห็นผิดเป็นชอบ ก็ว่า.
  5. เห็นแก่ : ก. มุ่งเฉพาะเพื่อ เช่น เห็นแก่ตัว เห็นแก่พวก เห็นแก่ได้.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : เห็นสมควร, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : เห็นสมควร, more than 5 found, display 1-5
  1. เห็นชอบ : ดู สัมมาทิฏฐิ
  2. ทมะ : การฝึก, การฝึกฝนปรับปรุงตน, การรู้จักข่มจิตข่มใจ บังคับควบคุมตนเองได้ ไม่พูดไม่ทำเพียงตามที่อยาก แต่พูดและทำตามเหตุผลที่พิจารณาเห็นด้วยปัญญาว่าดีงามสมควรเป็นประโยชน์ รู้จักปรับตัวปรับใจ และแก้ไขปรับปรุงตนด้วยปัญญาไตร่ตรองให้งอกงามดียิ่งขึ้นอยู่เสมอ (ข้อ ๒ ใน ฆราวาสธรรม ๔)
  3. ทิฏฐธัมมิกัตถะ : ประโยชน์ในปัจจุบัน, ประโยชน์สุขสามัญที่มองเห็นกันในชาตินี้ ที่คนทั่วไปปรารถนา มีทรัพย์ ยศ เกียรติ ไมตรี เป็นต้น อันจะสำเร็จด้วยธรรม ๔ ประการ คือ ๑.อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่น ๒.อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษา ๓.กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็นคนดี ๔.สมชีวิตา การเลี้ยงชีวิตตามสมควรแก่กำลังทรัพย์ที่หาได้; มักเรียกคล่องปากว่า ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์
  4. ภัตตัคควัตร : ข้อควรปฏิบัติในหอฉัน, ธรรมเนียมในโรงอาหาร ท่านจัดเข้าเป็นกิจวัตรประเภทหนึ่ง กล่าวย่อ มี ๑๑ ข้อ คือ นุ่งห่มให้เรียบร้อย, รู้จักอาสนะอันสมควรแก่ตน, ไม่นั่งทับผ้าสังฆาฏิในบ้าน, รับน้ำและโภชนะของถวายจากทายกโดยเอื้อเฟือ และคอยระวังให้ได้รับทั่วถึงกัน, ถ้าพอจะแลเห็นทั่วกัน พระสังฆเถระพึงลงมือฉัน เมื่อภิกษุทั้งหมดได้รับโภชนะทั่วกันแล้ว, ฉันด้วยอาการเรียบร้อยตามหลักเสขิยวัตร, อิ่มพร้อมกัน (หัวหน้ารอยังไม่บ้วนปากและล้างมือ), บ้วนปากและล้างมือระวังไม่ให้น้ำกระเซ็น ฉันในที่มีทายกจัดถวาย เสร็จแล้วอนุโมทนา, เมือกลับอย่าเบียดเสียดกันออกมา, ไม่เทน้ำล้างบาตรมีเมล็ดข้าวหรือของเป็นเดนในบ้านเขา
  5. อาการที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอน : มี ๓ อย่างคือ ๑) ทรงรู้ยิ่งเห็นจริงเองแล้ว จึงทรงสั่งสอนผู้อื่น เพื่อให้รู้ยิ่งเห็นจริงตามในธรรมที่ควรรู้ควรเห็น ๒) ทรงสั่งสอนมีเหตุผลซึ่งผู้ฟังอาจตรองตามให้เห็นจริงได้ ไม่เลื่อนลอย ๓) ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์ ทำให้ผู้ฟังยอมรับ และนำไปปฏิบัติตาม ได้รับผลจริง บังเกิดประโยชน์สมควรแก่การปฏิบัติ
  6. Budhism Thai-Thai Dict : เห็นสมควร, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : เห็นสมควร, more than 5 found, display 1-5
  1. กปฺป : (วิ.) หย่อนหน่อยหนึ่ง, เกือบเท่า, รอบด้าน, ควร, สมควร, คล้าย, เช่น, เหมือน. กปฺปฺ ปริจฺเฉทเน, อ.
  2. กปฺปิย : (วิ.) ควร, สมควร, ใช้ได้, เหมาะ. กปฺป อิย สกัด.
  3. กุสล : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ, คล่อง, คล่องแคล่ว, มั่งคั่ง, งาม, ดี. เหมาะ, ควร, สมควร, ถูก (ไม่ผิด), ถูกต้อง, ไม่มีโทษ, ไม่มีโรค, สบาย. ส. กุศล.
  4. ญาย : (วิ.) แนะนำ, สั่ง, ควร, สมควร, ถูก, ถูกต้อง, ชอบ, สมเหตุ, สมผล, ยุกติ (ควรชอบ).
  5. ตทุปิย : ค. เหมาะแก่สิ่งนั้น, สมควร, เหมาะเจาะ
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : เห็นสมควร, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เห็นสมควร, more than 5 found, display 1-5
  1. สมควร : ปฏิรูป, อนุจฺฉวิก, อนุปุพฺพ, ปฏิรูโป, อนุจฺฉวิโก, อนุปุพฺพโก
  2. เห็น : ทิฏฺฐฺ, ทสฺสนํ, ปสฺสนํ, ปสฺสติ, อเวกฺขติ, ทิสฺสติ [อิ.]
  3. สมควรเหมาะสม : ธมฺมานุธมฺม-
  4. เห็นด้วย, ถูกต้อง : สเมติ
  5. เห็นปัจจัย ๔ : ปจฺจเวกฺขนฺโต
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : เห็นสมควร, more results...

(0.3877 sec)