Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ธรรมจักษุ, จักษุ, ธรรม , then จกษ, จักษุ, ธมฺม, ธรรม, ธรรมจักษุ, ธรรมะ, ธรรมา .

Eng-Thai Lexitron Dict : ธรรมจักษุ, more than 7 found, display 1-7
  1. oculist : (N) ; จักษุแพทย์ ; Related:ผู้เชี่ยวชาญในการวัดสายตาเพื่อประกอบแว่น ; Syn:ophthalmologist, optometrist, optician
  2. demoralization : (N) ; การทำให้เสื่อมเสียศีลธรรม ; Related:การทำให้หมดศีลธรรม
  3. demoralizing : (ADJ) ; ซึ่งเสื่อมเสียศีลธรรม ; Related:ชวนให้เสื่อมเสียศีลธรรม
  4. immoral : (ADJ) ; ซึ่งผิดทำนองคลองธรรม ; Related:ผิดศีลธรรม, ผิดศีล, ซึ่งไม่เหมาะสม, ซึ่งไม่ซื่อสัตย์, ซึ่งขัดกับหลักคำสอน ; Syn:sinful, unethical, wicked ; Ant:moral, pious, pure
  5. immorality : (N) ; การผิดศีลธรรม ; Related:การผิดทำนองคลองธรรม ; Syn:sin, vice, wickedness ; Ant:morality
  6. libertine : (ADJ) ; ที่ประพฤติผิดศีลธรรม ; Related:ที่ไม่อยู่ในศีลธรรม, ที่หลงระเริง, ที่ทำอะไรตามใจชอบ ; Syn:amoral, sensual, lascivious, lewd
  7. licentious : (ADJ) ; ไร้ศีลธรรม ; Related:ปราศจากศีลธรรม
  8. Eng-Thai Lexitron Dict : ธรรมจักษุ, more results...

Thai-Eng Lexitron Dict : ธรรมจักษุ, more than 7 found, display 1-7
  1. ธรรมจักษุ : (N) ; spiritual eye ; Related:the eye which sees the Law ; Syn:ธัมมจักขุ, ตาธรรม, ดวงตาเห็นธรรม
  2. จักษุ : (N) ; eye ; Related:organ of vision, optic ; Syn:ดวงตา, ตา, จักขุ ; Samp:ทุกๆ วันอาทิตย์จะมีชายคนหนึ่งนัยว่าเป็นคนที่จักษุพิการเดินถือไม้เท้าเคาะไปตามถนน
  3. ธรรม : (N) ; doctrine ; Related:Teaching of Buddha, dharma ; Syn:คำสั่งสอน, คุณความดี, หลักธรรม ; Def:หลักคำสั่งสอนในศาสนา
  4. ธรรมจริยา : (N) ; observance of righteousness ; Related:religious life ; Syn:ธรรมจรณะ, ธรรมจรรยา, ธัมมจริยา ; Ant:ธรรมจริยา ; Def:การประพฤติเป็นธรรม, การประพฤติถูกธรรม ; Samp:พระภิกษุรูปนี้ท่านมีธรรมจริยาน่าเลื่อมใส
  5. ธรรมปฏิรูป : (N) ; counterfeit of moral rectitude ; Related:synthetic dharma ; Syn:ธรรมประติรูป, ธรรมปลอม ; Def:สิ่งที่ไม่แท้, ธรรมปลอมที่ไม่ใช่พุทธศาสนา
  6. ธรรมยุต : (N) ; Dhammyuttika ; Related:sect of Buddhist monks, sub-sect of the Thai theravada school of Buddhism ; Syn:ธรรมยุติกนิกาย ; Def:ชื่อนิกายหนึ่งของพุทธศาสนา
  7. ธรรมคุณ : (N) ; virtue of dharma ; Syn:ธัมคุณ, คุณของพระธรรม ; Def:บทแสดงคุณของพระธรรม ; Unit:เรื่อง
  8. Thai-Eng Lexitron Dict : ธรรมจักษุ, more results...

Royal Institute Thai-Thai Dict : ธรรมจักษุ, more than 5 found, display 1-5
  1. ธรรมจักษุ : น. ดวงตาคือปัญญาที่รู้เห็นธรรม. (ส.).
  2. จักษุ : น. ดวงตา. (ส.; ป. จกฺขุ).
  3. ธรรม ๑, ธรรม, ธรรม : [ทํา, ทํามะ] น. คุณความดี เช่น เป็นคนมีธรรมะ เป็นคนมีศีลมีธรรม; คําสั่งสอนในศาสนา เช่น แสดงธรรม ฟังธรรม ธรรมะของพระพุทธเจ้า; หลักประพฤติปฏิบัติในศาสนา เช่น ปฏิบัติธรรม ประพฤติธรรม; ความจริง เช่น ได้ดวงตาเห็นธรรม; ความยุติธรรม, ความถูกต้อง, เช่น ความเป็นธรรมในสังคม; กฎ, กฎเกณฑ์, เช่น ธรรมะแห่งหมู่คณะ; กฎหมาย เช่น ธรรมะระหว่างประเทศ; สิ่งทั้งหลาย, สิ่งของ, เช่น เครื่องไทยธรรม. (ส. ธรฺม; ป. ธมฺม).
  4. ธรรม : น. สมณศักดิ์พระราชาคณะ สูงกว่าชั้นเทพ ตํ่ากว่าชั้นหิรัญบัฏ เรียกว่า ชั้นธรรม เช่น พระธรรมโกศาจารย์ พระธรรมเจดีย์.
  5. ธรรม : คําประกอบท้ายคําที่เป็นนามธรรม เมื่อประกอบแล้วมีความหมายไม่ต่างไป จากคําศัพท์เดิม เช่น วัฒนธรรม อารยธรรม.
  6. Royal Institute Thai-Thai Dict : ธรรมจักษุ, more results...

Budhism Thai-Thai Dict : ธรรมจักษุ, more than 5 found, display 1-5
  1. ธรรมจักษุ : ดวงตาเห็นธรรมคือ ปัญญา รู้เห็นความจริงว่า สิ่งใดก็ตามมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งปวง ล้วนมีความดับไปเป็นธรรมดา; ธรรมจักษุโดยทั่วไป เช่น ที่เกิดแก่ท่านโกณฑัญญะเมื่อสดับธรรมจักร ได้แก่ โสดาปัตติมรรคหรือโสดาปัตติมรรคญาณ คือญาณที่ทำให้เป็นโสดาบน
  2. ธรรม : สภาพที่ทรงไว้, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวธรรม, สัจจธรรม, ความจริง; เหตุ, ต้นเหตุ; สิ่ง, ปรากฏการณ์, ธรรมารมณ์, สิ่งที่ใจคิด; คุณธรรม, ความดี, ความถูกต้อง, ความประพฤติชอบ; หลักการ, แบบแผน, ธรรมเนียม, หน้าที่; ความชอบ, ความยุติธรรม; พระธรรม, คำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งแสดงธรรมให้เปิดเผยปรากฏขึ้น
  3. จักษุ : ตา, นัยน์ตา
  4. ดวงตาเห็นธรรม : แปลจากคำว่า ธรรมจักษุ หมายถึงความรู้เห็นตามเป็นจริง ด้วยปัญญาว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมดมีความดับเป็นธรรมดา ดู ธรรมจักษุ
  5. ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร : “พระสูตรว่าด้วยการยังธรรมจักรให้เป็นไป”, พระสูตรว่าด้วยการหมุนวงล้อธรรมเป็นชื่อของ ปฐมเทศนา คือพระธรรมเทศนาครั้งแรก ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ หลังจากนั้น ตรัสรู้ ๒ เดือน ว่าด้วยมัชฌิมาปฏิปทา คือทางสายกลาง ซึ่งเว้นที่สุด ๒ อย่าง และว่าด้วยอริยสัจ ๔ ซึ่งพระพุทธเจ้าได้ตรัสรู้ อันทำให้พระองค์สามารถปฏิภาณว่าได้ตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ (ญาณคือความตรัสรู้เองโดยชอบอันยอดเยี่ยม) ท่านโกณฑัญญะหัวหน้าคณะปัญจวัคคีย์ ฟังพระธรรมเทศนานี้แล้ว ได้ดวงตาเห็นธรรม (ธรรมจักษุ) และขอบวชเป็นพระภิกษุรูปแรก เรียกว่า เป็นปฐมสาวก
  6. Budhism Thai-Thai Dict : ธรรมจักษุ, more results...

ETipitaka Pali-Thai Dict : ธรรมจักษุ, more than 5 found, display 1-5
  1. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  2. จกฺขุภูต : (วิ.) (พระพุทธเจ้า) ทรงเป็นเพียงดัง จักษุเป็นแล้วเพราะบรรลุพระปรมัตถธรรม วิ. จกฺขุ อิว ภูโต อยํ ปรมตฺถทสฺสนโตติ จกฺขุภูโต เป็นปฐมอุปมานบุพพบทพหุพ. รูปฯ ๓๔๑.
  3. สมนฺตจกฺขุ : (ปุ.) พระสมันตจักขุ (ทรงรู้ทรงเห็นโดยทั่ว) เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. บทธรรมที่พระคถาคตไม่ทรงเห็นแล้วไม่มีในโลกนี้ บทธรรมที่ควรรู้ พระคถาคตไม่ทรงรู้แล้วไม่มี ทรงทรางยิ่งซึ่งธรรมเครื่องนำไปทั้งปวง จึงเป็นพระสมันตจักษุ. ไตร. ๓๑ ข้อ ๒๙๑.
  4. ตป : (ปุ.) ความเพียร เครื่องเผากิเลส, คุณ ธรรมอันยังกิเลสให้ร้อน, คุณธรรมอันยัง กิเลสให้เร่าร้อน (แห้ง), ความร้อน, ความสำรวม, ความเพียร, ธรรม, วัตร, พรต (ธรรมมีศีลเป็นต้น ความบำเพ็ญพรตเผา กิเลส), ศีล, ตบะ. วิ. กิเลเส ตาเปตีติ ตโป. ตปฺ ทาเห สนฺตาเป วา, อ. ส. ตปสฺ.
  5. โลจน : นป. ตา, จักษุ
  6. ETipitaka Pali-Thai Dict : ธรรมจักษุ, more results...

Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ธรรมจักษุ, more than 5 found, display 1-5
  1. จักษุ : จกฺขุ
  2. จักษุบอด : จกฺขุกาโณ
  3. จักษุแพทย์ : จกฺขุเวชฺโช
  4. ธรรมมาสน์ : ธมฺมาสนํ, ธมฺมปลฺลงฺโก
  5. ค้นคว้าธรรม : ธมฺมวิจโย
  6. Pramaha Prasert Mantasevi's Thai-Pali Dict : ธรรมจักษุ, more results...

(0.2278 sec)