Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ท่องเที่ยว, เที่ยว, ท่อง , then ทยว, ทอง, ท่อง, ทองทยว, ท่องเที่ยว, เที่ยว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ท่องเที่ยว, 237 found, display 51-100
  1. จกฺกิก : (ปุ.) คนเที่ยวไปด้วยจักร, คนลาดตระ เวน. ณิกปัจ. อภิฯ ลง อิก ปัจ.
  2. จร : (วิ.) บรรลุ, ไป, เที่ยวไป, เคลื่อนที่ไป, เคลื่อนที่ได้. จรฺ คติยํ, อ. สั่งสม, สะสม, รวบรวม. จรฺ สญฺจเย, อ. ประพฤติ จรฺ จรเณ, อ. สละ, ละ, ทิ้ง. จรฺ จชเน, อ. กิน, บริโภค. จรฺ ภกฺขเณ, อ. ยกขึ้น, สั่น, ส่าย, กลับกลอก, คลอนแคลน. จรฺ อุกฺขิปเน, อ.
  3. จรก : (ปุ.) คนเที่ยวไป, ฯลฯ. ก สกัด. ส. จรก.
  4. จราเปติ : ก. ให้เที่ยวไป, ให้เดินไป, ให้เคลื่อนไป; ให้เดินเป็นวงกลม
  5. จริต : (นปุ.) การเที่ยวไป (ของจิต) ความประ พฤติ, เรื่องราว, นิสัย, พื้น, พื้นเพ, พื้นเพ ของจิต, จริต, (พื้นเพของจิต ของแต่ละบุค คล ซึ่งจะหนักไปในทางใดทางหนึ่งในหก ทาง ดูจริต ๖ ในหลักธรรมะ) จรฺ จรเณ, โต, อิอาคโม.
  6. จริตุ : ป. คนผู้เที่ยวไป, ผู้ประพฤติ, ผู้ปฏิบัติ
  7. จริย : (นปุ.) การเที่ยวไป, ความประพฤติ
  8. จาร : (ปุ.) คนสอดแนม, การเที่ยวไป, การเป็น ไป, ความประพฤติ. จรฺ จรเณ, โณ.
  9. จารณ : ค., นป. ผู้เที่ยวไป, ผู้ประพฤติ; การให้เที่ยวไป, การจัดการ, ความประพฤติ
  10. จารปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้เที่ยวไป, บุรุษผู้สอดแนม, แนวที่ห้า, จารบุรุษ (ผู้หาข่าวฝ่ายข้าศึกมา ให้ฝ่ายตน).
  11. จาริก : (วิ.) ผู้เดินไป, ผู้เที่ยวไป, ผู้เที่ยวไป เพื่อสั่งสอนหรือแสวงบุญ.
  12. จารี : ค. ผู้มีปกติประพฤติ, ผู้มักเที่ยวไป
  13. จาเรติ : ก. ให้เที่ยวไป, ให้เป็นไป, ให้ซ่านไป, ปล่อยให้เที่ยวไป
  14. จิณฺณ : กิต. (อันเขา) ประพฤติแล้ว, อันเขาปฏิบัติแล้ว; เที่ยวไปแล้ว
  15. จิณฺณฏฐาน : นป. ที่ตนเคยเที่ยวไปแล้ว; ฐานะที่เคยประพฤติมาแล้ว
  16. ฉกามาวจร : (ปุ.) ภพเป็นที่เที่ยวไปของสัตว์ผู้ เสพกามหกชั้น, ฉกามาพจร ชื่อของสวรรค์ ๖ ชั้น เป็นที่อยู่ของสัตว์ผู้เสพกาม.
  17. ชนปทจาริกา : อิต. ผู้เที่ยวไปในชนบท
  18. ชปก, ชปฺปก : ค. ผู้บ่น, ผู้พูดอุบอิบ, ผู้พูดพึมพำ; ท่องบ่น, สาธยาย
  19. ชปติ, ชปฺปติ : ก. บ่น, พูดอุบอิบ, พูดพึมพำ; ท่องบ่น, สาธยาย
  20. ชลโคจร, - จรก : ๑. ป. ปลา; ๒. ค. ผู้เที่ยวไปในน้ำ, ผู้อาศัยอยู่ในน้ำ
  21. ชลจร : (ปุ.) ทางน้ำ, สัตว์ผู้เที่ยวไปในน้ำ, สัตว์น้ำ, ปลา. วิ. ชเล จรตีติ ชลจโร. อ. ปัจ
  22. ตถา เอว ตเถว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น นั่นเที่ยว, เหมือนอย่างนั้น.
  23. ถลโคจร : ค. ซึ่งเที่ยวหากินบนบก, ซึ่งอาศัยอยู่บนบก
  24. ทรีจร : ค. ซึ่งเที่ยวไปตามซอกเขา, ซึ่งอยู่ในถ้ำ
  25. เทวจาริกา : อิต. การจาริกไปในหมู่เทวดา, การเที่ยวไปในสวรรค์
  26. นาวาสญฺจาร : ป. การเที่ยวทางเรือ, ท่าเรือ
  27. นาวิก : (วิ.) ผู้เที่ยวไปด้วยเรือ, ผู้ข้ามด้วยเรือ, ผู้ข้ามแม่น้ำด้วยเรือ, ผู้ประกอบในเรือ, ผู้เป็นใหญ่ในเรือ. วิ. นาวาย จรตีตี นาวิโก. เป็นต้น. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  28. นิเกตสารี : ค. ผู้เที่ยวไปตามบ้าน, ผู้เที่ยวไปในบ้าน
  29. ปจรติ : ก. ประพฤติ, เที่ยวไป
  30. ปฐน : นป. การอ่าน, การท่อง, การสวด
  31. ปตฺถคู : ค. ผู้เชื่อฟังคำ, ผู้ว่าง่าย; เดินไป, เที่ยวไป
  32. ปทจร : (ปุ.) คนเที่ยวไปด้วยเท้า, คนเดินเท้า, การเที่ยวไปด้วยเท้า, การไปด้วยเท้า, บทจร. ไทยใช้ บทจร เป็นกิริยาว่าเดินไป.
  33. ปทฺธคู : ค. ผู้เชื่อฟัง, ผู้ว่าง่าย, ผู้คอยรับใช้; ผู้เดินไป, ผู้เที่ยวไป, ผู้เดินทาง
  34. ปนฺติ : (อิต.) ราวป่า, แถว, แนว, ท่องแถว, สาย, บรรทัด, เส้นบรรทัด, ทาง, หนทาง, ลำดับ, แบบแผน, ระเบียบ, บาลี. ปนฺ วฺย วหาเร ถุติมฺหิ จ, ติ.
  35. ปมทวน : (นปุ.) สวนนางข้างใน ( สวนหลวง ทรงให้สร้างขึ้นเพื่อนางข้างใน ไม่ใช่เป็น ที่เที่ยวของชนอื่น ) วิ. ปมทานํ วนํ ปมทาวนํ. รัสสะ อา ที่ ทา เป็น อ.
  36. ปริจย : (ปุ.) การอบรม, การท่อง, การท่อง บ่น, ความชม, ความรู้จักกัน, ความสั่งสม, ความชิน, ความเคยชิน, ความคุ้นเคย, ความอบรม. ปริปุพฺโพ, จิ จเย, อ.
  37. ปริเยสนา : อิต. การแสวงหา, การเที่ยวเสาะหา
  38. ปริเยสิต : กิต. แสวงหาแล้ว, เที่ยวเสาะหาแล้ว
  39. ปวชติ : ก. เที่ยวไป
  40. ปิณฺฑจาร : ป. การเที่ยวไปเพื่อก้อนข้าว
  41. ปิณฺฑจาริก : ค. ผู้เที่ยวไปเพื่อก้อนข้าว
  42. ปิณฺโฑล : ค. ผู้เที่ยวไปบิณฑบาต, ผู้แสวงหาบิณฑบาต
  43. ปิณฺโฑลฺย : นป. การเที่ยวไปเพื่อบิณฑบาต
  44. ปุเรจาริก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยอันเที่ยวไปก่อน, ผู้ประ กอบด้วยอันเที่ยวไปในเบื้องหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ผู้เที่ยวไปข้างหน้า, เป็นเครื่องนำหน้า, เป็นอารมณ์. ณิก ปัจ. สกัด.
  45. ปุสฺสรถ : (ปุ.) รถพระที่นั่ง มิใช่รถสำหรับออกรบ แต่เป็นรถสำหรับเที่ยวเล่นเป็นต้น, รถที่ตกแต่งในปุสสนักบัตร. ปุสฺ โปสเน, โส.
  46. ภิกฺขาจริยา : (อิต.) ความประพฤติในอันขอ, การเที่ยวขอ.
  47. ภิกฺขาจาร : (ปุ.) การเที่ยวไปเพื่ออันขอ, การเที่ยวไปเพื่ออันขออาหาร, การเที่ยวขออาหาร, การเดินบิณฑบาต, การเที่ยวบิณฑบาต. ภิกษาจาร. ส. ภิกฺษาจาร.
  48. มนฺตชฺฌาย : (วิ.) ผู้ศึกษามนต์, ผู้ท่องมนต์. มนฺต+อชฺฌาย.
  49. มิจฺฉาสงฺกปฺปโคจร : (วิ.) มีความดำริผิดเป็นที่จรไปแห่งอินทรีย์, มีความดำริผิดเป็นที่เที่ยวไปราวกะว่าที่เป็นที่เที่ยวไปแห่งโค, มีความดำริผิดเป็นอารมณ์.
  50. วนจรก : ค. ผู้เที่ยวไปในป่า
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-237

(0.0384 sec)