Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แยก , then ยก, แยก .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แยก, 267 found, display 151-200
  1. กมฺมวาจก : (ปุ.) กรรมวาจก ชื่อวาจก ๑ ใน ๕ วาจกที่ยกกรรม คือสิ่งที่ถูกทำเป็นประธาน (กล่าวกรรมเป็นประธาน). ส. กรฺมวาจก.
  2. กายจลนสีสุกฺขิปนภมุกวิการาทิ : (วิ.) มีอัน ไหวแห่งกายและอันยกขึ้นซึ่งศรีษะและอัน กระทำต่างแห่งคิ้ว (การยักคิ้ว) เป็นต้น, มีอันกระดิกซึ่งกาย และอันสั่นซึ่งศรีษะ และอันยักซึ่งคิ้วเป็นต้น. เป็น ฉ. ตุล. มี ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ อ. ทวัน. เป็นท้อง.
  3. กายสกฺขี : ค. ผู้มีตนเป็นพยาน, ผู้ยกตนขึ้นเป็นพยาน; ผู้บรรลุธรรมโดยยึดร่างกายเป็นเหตุ
  4. ขมาปน : นป. การบอกให้ยกโทษให้, การให้ขอขมา
  5. ขมาเปติ : ก. บอกให้ยกโทษให้, ขอโทษ, ขออภัย
  6. ขลก : (ปุ.) ม้ากระจอก (ดขยก) ม้าเขยก ขรฺ ขเย, อ, รสฺส โล, สกตฺเถ โก. หรือ ลง ณฺวุ ปัจ. ไม่ทีฆะ.
  7. คติ : (อิต.) การเดินทางไปรบ, การยกทัพออก ไปรบ. คมฺ คติยํ, ติ, มฺโลโป. ส. คติ.
  8. คม : (ปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป, การเดินทางไป, การเดินทางไปรบ, การยกทัพไปรบ, การเดินทัพไปรบ. วิ. คมนํ คโม. คมฺ ปัจ. ส. คมน.
  9. จร : (วิ.) บรรลุ, ไป, เที่ยวไป, เคลื่อนที่ไป, เคลื่อนที่ได้. จรฺ คติยํ, อ. สั่งสม, สะสม, รวบรวม. จรฺ สญฺจเย, อ. ประพฤติ จรฺ จรเณ, อ. สละ, ละ, ทิ้ง. จรฺ จชเน, อ. กิน, บริโภค. จรฺ ภกฺขเณ, อ. ยกขึ้น, สั่น, ส่าย, กลับกลอก, คลอนแคลน. จรฺ อุกฺขิปเน, อ.
  10. จุณฺณียปท : (นปุ.) บทบาลีเล็กน้อย, จุณณียบท คือบทบาลีที่ยกขึ้นแสดงแต่เล็กน้อยก่อนที่ จะแสดงเนื้อความพิศดาร.
  11. จุลฺล : (ปุ.) หงอนนก?, เตา, เตาไฟ, เชิงกราน ชื่อเตาไฟทำด้วยดิน ยกตั้งได้ มีชานสำ- หรับวางฟืน. จิ จเย, อุโล, ทฺวิตฺตํ.
  12. เจลุกฺเขป : ป. การยกขึ้นซึ่งผ้า, การโบกผ้า (แสดงความพอใจ)
  13. ฉตฺตุสฺสาปน : นป. การยกเศวตฉัตร คือ การขึ้นครองราชย์
  14. ฐปน : นป., ฐปนา อิต. การตั้งขึ้น, การยกขึ้น, การวางไว้, การรักษาไว้, การแต่งตั้ง, การสถาปนา; การงด, การหยุดไว้ (ในคำว่า ปาฏิโมกฺขฐปน การงดสวดปาฏิโมกข์)
  15. ทกฺขิโณทก : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงให้เพื่อทาน สมบัติอันเจริญ, ทักขิโณทก, ทักษิโณทก. เดิมคำนี้เป็นชื่อของน้ำที่เจ้าภาพถวายแด่ พระก่อนจะฉันภัตตาหาร เพื่อใช้บ้วนปาก ล้างมือหรือชุบมือ ( กรณีฉันด้วยมือ ) แต่ปัจจุบันนี้หมายถึงน้ำที่เจ้าภาพหลั่ง ( เทให้ใหลลงช้าๆ โดยไม่ขาดสาย ) เวลา ทำบุญ เพื่ออุทิศส่วนกุศลแด่ผู้ล่วงลับไป แล้ว หรือเป็นชื่อของน้ำที่เจ้าของสิทธิ์ หลั่งลง เป็นการแสดงการมอบของที่ไม่ สามารถยกได้ให้เป็นสิทธิ์ขาด อีกอย่าง หนึ่ง เป็นชื่อของเต้าน้ำ ราชาศัพท์ใช้ว่า พระเต้าษิโณทก คำกลอนมักตัดทักออก ใช้ว่า ษิโณทก.
  16. ทาตุ : (วิ.) ให้, ยกให้, ถวาย. ทา ทาเน, ตุ.
  17. เทวตาอุโปสถ : ป. เทวดาอุโบสถ, การรักษาอุโบสถโดยยกเอาเทวดาเป็นพยานในคุณความดีของตน
  18. โทสาโรปณ : นป. การยกขึ้นซึ่งโทษ, การแส่หาโทษคนอื่น, การกล่าวร้าย, การติเตียน
  19. ธมฺมาธิฐาน : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งธรรม, การตั้งไว้ซึ่งสภาวะ, ธรรมาธิษฐาน คือ การยกหลักธรรมหรือสิ่งที่เป็นนามธรรมล้วนๆมาตั้งหรืออธิบาย. การอธิบายธรรมล้วนๆ ไม่มีสัตว์บุคคลเข้าประกอบ เรียก ว่าธรรมาธิษฐาน. คู่กันกับปุคลาธิษฐาน. ส. ธรฺมาธิษฺฐาน.
  20. นิชฺฌปน : นป. การบวงสรวง, การยกโทษให้. นิชฺฌร ป. ทางน้ำตก
  21. นิยฺยาต : ค. อันมอบให้, ยกให้, อุทิศให้
  22. นิยฺยาเตติ : ก. มอบให้, ยกให้, อุทิศให้
  23. นิยาเตติ : ก. มอบให้, ยกให้, อุทิศให้
  24. ปฏินิชฺฌายติ : ก. อดโทษ, ยกโทษให้, หายโกรธ
  25. ปตารณ : นป. การยกขึ้นให้สูง, การขยายตัว
  26. ปทียติ : ก. (อันเขา) ให้คืน, ยกให้, มอบให้
  27. ปทุทฺธาร : ป. การยกบทขึ้นตั้งเพื่ออธิบาย
  28. ปายี : ค. ดู ปายก
  29. พฺยคฺฆี : (อิต.) มะอึก วิ. ภยกรณวเสน พฺยคฺฆสทิสตาย พฺยคฺฆี. อี ปัจ.
  30. ยกฺขาธิป : (ปุ.) ยักขาธิป ชื่อท้าวโลกบาลผู้เป็นใหญ่ในทิศเหนือ เป็นอธิบดีของยักษ์มีชื่อเรียก ๒ ชื่อ คือ ท้าวกูเวร ๑ ท้าวเวสสุวัณ ๑. วิ. ยกขานํ อธิโป ยกฺขาธิโป.
  31. ยาคุ : (ปุ.) ข้าวต้ม, ข้าวยาคู ชื่อขนมชนิดหนึ่งทำด้วยข้าวอ่อน คือ เกี่ยวเอารวงข้าวที่ยังเป็นน้ำนม คั้นเอาแต่น้ำนมใส่ภาชนะตั้งไฟเคี่ยว ใส่น้ำตาล เคี่ยวพอข้นเหนียวจึงยกลง มีกลิ่นหอม รับประทานอร่อย. ยา ปุณเน, คุ. มิสฺสเน วา, คุ, อุสฺสา.
  32. ยาตฺรา : (อิต.) การเลี้ยงชีวิต, การยังชีวิตให้เป็นไป, การไป, การเดิน, การเดินไป, การเดินทัพออกไปรบ, การยกทัพไปรบ. ยา ปาปุณเน, ตฺรณฺปจฺจโย. อภิฯ รูปฯ ๖๕๐.
  33. โวโรปน : นป. การยกลง
  34. โวโรเปติ : ก. ยกลง, ปลงลง
  35. สนฺธาเรติ : ก. ทรงไว้, ผู้สอบทาน, ยกขึ้น, เหนี่ยวรั้ง, ค้ำจุน
  36. สมาโรปน : นป. การยกขึ้น
  37. สมุทฺธต : กิต. ยกขึ้นแล้ว, ถอนขึ้นแล้ว
  38. สมุทฺธรณ : นป. การยกขึ้น, การถอนขึ้น
  39. สมุทฺธรติ : ก. ยกขึ้น, ถอนขึ้น
  40. สมุสฺสย : (วิ.) ยกขึ้น, ก่อขึ้น, งอกขึ้น.
  41. สมุสฺสาเปติ : ก.ให้ยกขึ้น
  42. สมุสฺสิต : กิต. ยกขึ้นแล้ว
  43. สาธก : (วิ.) ให้สำเร็จ, อัน...ให้สำเร็จ. สาธฺ สํสิทฺธิยํ, อ. ก สกัด. สาธก ไทยใช้เป็นกิริยาว่ายกตัวอย่างมาให้เห็น.
  44. สาโลหิต : (ปุ.) คนผู้ร่วมสายเลือด, คนผู้ร่วมสายเลือดเดียวกัน, คนผู้นับเนืองในวงศ์ญาติ, ญาติสืบสาย, สาโลหิต, สายโลหิต. วิ. โลหิเตน สมฺพนฺโธ สาโลหิตโต. สมฺพนฺธสฺส สาเทโส, ปุพฺพนิปาโต จ. แปลง สมฺพนฺธ เป็น สา และตกไป (ยกไปไว้) ข้างหน้า.
  45. สิสฺส : (ปุ.) นักเรียน, ศิษย์. วิ. โสตุ ํ อิจฺฉตีติ สิสฺโส (ผู้ปรารถนา ผู้ต้องการเพื่ออันฟัง). สิสฺ อิจฺยํ, โส. ใน วิ. ใช้ อิสฺ ธาตุแทน. สุณาตีติ วา สิสฺโส. สุ สวเน, อิสฺสปจฺจโย. สาสิตพฺโพติ วา สิสฺโส. สุ สวเน, อิสฺสปจฺจโย. สาสิตพฺโพติ วา สิสฺโส. สาสฺ อนุสิฎฐยํ, โณย. แปลง อา เป็น อิ. สฺย เป็น สฺส หรือแปลง ย เป็น ส โมคฯลง ยกฺ ปัจ. แปลง สาสฺ เป็น สิสฺ ลบ กฺ แปลง ย เป็น ส. ส. ศิษย์.
  46. อกรณียกิจฺจ : (นปุ.) กิจอัน....ไม่พึงทำ, กิจอัน....ไม่ควรทำ, อกรณียกิจ.กิจอันบรรพชิตไม่ควรทำ (ทำไม่ได้) มี๔ อย่าง.ความเป็นจริงกิจที่บรรพชิตไม่ควรทำทั้งสิ้น ชื่ออกรณียกิจ ที่ท่านยกขึ้นกล่าวเพียง ๔ อย่างนั้นกล่าวเฉพาะข้อที่สำคัญซึ่งล่อแหลมต่อการขาดจากความเป็นบรรพชิตและเพื่อให้เหมาะแก่เวลาเมื่ออุปสมบทเสร็จ.อกรณียกิจของคนทั่วไปได้แก่ กายทุจริต วจีทุจริต และมโนทุจริต.
  47. อญฺญสตฺถุทฺเทส : (ปุ.) การยกขึ้นซึ่งศาสนาอื่น, การเข้ารีดศาสนาอื่น.
  48. อตฺตุกฺกส : (วิ.) ผู้มีตนยิ่ง, ผู้ยกตน, ผู้ยกตนข่มท่าน.
  49. อตฺตุกฺกสนา : (อิต.) การยกตน, การยกตนข่มท่าน.
  50. อธิฏฺฐายี : ป. ดู อธิฏฺฐายก
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-267

(0.0407 sec)