Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แยก , then ยก, แยก .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แยก, 267 found, display 201-250
  1. อนุจฺจาริต : ค. ไม่ออกเสียง, ไม่ถูกยกขึ้น
  2. อนุญฺญาต : (วิ.) รู้ตามแล้ว, ตามรู้แล้ว, อนุญาตแล้ว.อนุญาตไทยใช้ในความหมายว่ายินยอม, ยอมให้, ยกให้, ตกลง.
  3. อนุญฺาต : (วิ.) รู้ตามแล้ว, ตามรู้แล้ว, อนุญาต แล้ว. อนุญาต ไทยใช้ในความหมายว่า ยินยอม, ยอมให้, ยกให้, ตกลง.
  4. อนุหีรติ : ก. ยกขึ้น, ชูขึ้น
  5. อพฺภุคฺคิรณ : นป. การยกขึ้น, การเงื้อง่าขึ้น
  6. อพฺภุคฺคิรติ : ก. ยกขึ้น, กวัดแกว่ง
  7. อพฺภุทาหรติ : ก. นำมา, รับมา; ตั้งต้น; แนะนำ, ยกมาเป็นตัวอย่าง
  8. อภินิโรปน : (นปุ.) การยกขึ้นเฉพาะ, ความยกขึ้นเฉพาะ, การยกขึ้น, ความยกขึ้น.
  9. อภินิโรปนา : (อิต.) การยกขึ้นเฉพาะ, ความยกขึ้นเฉพาะ, การยกขึ้น, ความยกขึ้น.
  10. อยฺยกาอยฺยกีอยฺยิกาอยฺยกานี : (อิต.) ย่า, ยายรูปฯ ๑๘๙ว่าอยฺยกศัพท์เป็นต้นเมื่อลงอีปัจ. (การันต์) เบื้องปลายให้เอาอที่สุดของศัพท์เป็นอาน.
  11. อยฺยกา อยฺยกี อยฺยิกา อยฺยกานี : (อิต.) ย่า, ยาย รูปฯ ๑๘๙ ว่า อยฺยก ศัพท์เป็นต้น เมื่อลง อี ปัจ. (การันต์) เบื้องปลายให้เอา อ ที่สุด ของศัพท์เป็น อาน.
  12. อาโรปน : (นปุ.) การยกขึ้น, การเนา (เย็บห่าง ๆ พอให้อยู่เป็นเนา).อาบทหน้า รุปฺธาตุในความตั้งไว้ยุ ปัจ.
  13. อาโรเปติ : ก. ปลูก, เพาะ, ยกขึ้น ; ฟ้องร้อง, กล่าวหา; สั่งสอน
  14. อาโรห : (วิ.) ยาว, ยกขึ้น, ขึ้นไป, สูง, ทรวดทรง
  15. อาโรหน : (นปุ.) การยกขึ้น, การขึ้นไป, ความยาว, ส่วนยาว, ความสูง, ส่วนสูง.อาปุพฺโพ, รุหฺปาตุภาเว, โณ.ส.อาโรห, อาโรหณ.
  16. อาหรติ : ก. นำมา, ไปเอามา, ยกมาเล่า, นำมาสอน; ใส่โทษ
  17. อิติวุตฺตก : (นปุ.) อิติวุตตกะ ชื่อองค์ที่ ๖ ใน ๙ องค์ ของนวังคสัตถุศาสน์. แต่งโดยยกข้อ ธรรมขึ้นแล้ว อธิบายตอนจบมีบทสรุป กำกับไว้ด้วย. วิ. อิติ วุตฺตํ อิติวุตฺตกํ ก สกัด.
  18. อุกฺกสติ, - เสติ : ก. ยกตน, สรรเสริญ, ชมเชย, สดุดี
  19. อุกฺกุชฺชน : (นปุ.) การหงาย. อุปุพฺโพ, กุชฺชฺ อโธมุขีกรเณ, ยุ. อุกฺกุฏน อุกฺโกฏน (ปุ., นปุ.?) การยกขึ้น, การเผยขึ้น, การเลิกขึ้น, การรื้อฟื้น.
  20. อุกฺโกเฏติ : ก. รื้อฟื้น, ยกขึ้นมาพิจารณาใหม่, คดโกง
  21. อุกฺขิตฺตก : ค. ผู้ถูกสงฆ์ยกวัตร, ผู้ถูกลงโทษด้วยการยกออกเสียจากคณะ คือไม่ให้สมโภคร่วมกับสงฆ์
  22. อุกฺขิปติ : ก. ยกขึ้น, เพิกขึ้น, ขว้างทิ้ง, ยกวัตร, ยักคิ้ว
  23. อุกฺขิปน : นป. การยกขึ้น, การเพิกขึ้น, การขว้างทิ้ง, การยกภิกษุผู้มีอธิกรณ์ออกจากหมู่
  24. อุกฺเขปก : ก. ผู้ยกวัตร, ผู้ลงโทษด้วยการยกภิกษุผู้มีอธิกรณ์ออกจากสงฆ์
  25. อุกฺเขปนิยกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำ แก่ภิกษุผู้อันสงฆ์พึงยกขึ้น, การลงโทษ โดยยกเสียจากหมู่. อุกฺเขปนิยกรรม เป็น กรรมที่สงฆ์พึงทำแก่ภิกษุผู้ต้องอาบัติแล้ว ไม่ยอมรับว่าเป็นอาบัติ และไม่ทำคืน (ไม่ ปลงอาบัติหรืออยู่กรรม) ด้วยการลงโทษ ยกเสียจากหมู่ คือ ตัดเสียชั่วคราว เป็น สังฆกรรมอันสงฆ์พึงทำด้วยวิธีญัติจตุตถ- กรรมวาจา. ไตร ๖/๑๓๔.
  26. อุกฺเขปนีย : ค. ควรแก่การลงโทษโดยการยกออกเสียจากคณะ
  27. อุกฺเขปนียกมฺม : นป. อุกเขปนียกรรม, กรรมคือการที่สงฆ์พึงลงโทษด้วยการยกภิกษุผู้ต้องอธิกรณ์ออกจากคณะ
  28. อุคฺคมน : (นปุ.) การขึ้นไป, ฯลฯ, การเกิดขึ้น, การยกขึ้น, ทิศเบื้องบน. อุปุพฺโพ, คมฺ คมเน อ, ยุ. ซ้อน คฺ.
  29. อุคฺฆฏิต : ค. ถูกยกขึ้น, ฉลาด, มีปัญญา
  30. อุคฺฆฏิตญฺญู : ค. ผู้พอยกขึ้นแสดงก็รู้ทันที, ผู้มีปัญญาเฉียบแหลม
  31. อุคฺฆติตญฺญู : (วิ.) ผู้รู้ซึ่งธรรมอันท่านยกหัวข้อขึ้น แสดงแล้ว, ผู้รู้ธรรมพอท่านยกหัวข้อขึ้นแสดง, อุคฆติตัญญู (พอท่านยกหัวข้อขึ้นแสดงก็เข้าใจ แล้ว).
  32. อุชฺฌน อุชฺฌาน : (นปุ.) การเพ่งโทษ, การ ยกโทษ, การติเตียน, การโพทนา, ความเพ่ง โทษ, ฯลฯ. อุปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, ยุ.
  33. อุฏฐาหิก : ค. ดู อุฏฐายก
  34. อุณฺณติ : (อิต.) ความพองจิต, ความถือตัว, ความไว้ตัว, ความจองหอง, ความไว้ยศ, การเทิดตน, การไว้ตน, การยกตน. อุปุพฺโพ, นมุ นมเน, ติ. ดู อุณฺณต.
  35. อุณฺณมติ : ก. ฟูขึ้น, พองขึ้น, ยกตน, หยิ่ง
  36. อุทฺทิฏฐ : กิต. ชี้แจง, ยกขึ้นอ้าง, แต่งตั้ง, บัญญัติ, ประกาศ, เสนอ, อุทิศ
  37. อุทฺเทส : (ปุ.) การยกขึ้นแสดง, การยกขึ้น ชี้แจง, การยกขึ้นอ้างอิง, การแสดง, การชี้แจง, การบรรยาย, การสวด, คำชี้แจง, คำอธิบาย, พระปาติโมกข์ ชื่อพระบาลีที่ ยกขึ้นสวดทุกกึ่งเดือน, อุเทศ คือ การจัด อย่างสังเขปรวมเป็นข้อ ๆ ไว้ การสอน หรือการเรียนพระบาลี. อุปุพฺโพ, ทิสฺ ปกาสนอติสชฺชเนสุ, โณ, ทฺสํโยโค. ส. อุทฺเทศ.
  38. อุทฺเทสิก : (ปุ.) การยกขึ้นแสดง, ฯลฯ, อุทเทส อุเทส (จัดอย่างหัวข้อที่ตั้งไว้ สังเขปรวม เป็นข้อ ๆ ไว้ การสอนหรือการเรียนบาลี). อุปุพฺโพ, ทิสฺ ปกาสเน, โณ, ทฺสํโยโค.
  39. อุทฺธต : กิต. ยกขึ้นแล้ว, ทำให้ฟุ้งขึ้นแล้ว, ไม่สงบนิ่งแล้ว
  40. อุทฺธรณ : (นปุ.) การยกขึ้น, การรื้อขึ้น, ความยกขึ้น, ความรื้อขึ้น. ไทยใช้คำ อุทธรณ์ หมายถึงการฟ้องร้องต่อศาลที่สอง (ศาล อุทธรณ์) เพื่อขอร้องให้ศาลรื้อฟื้นเรื่องขึ้น พิจารณาและตัดสินใหม่. อุปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, ยุ. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ. ส. อุทฺธรณ.
  41. อุทฺธรติ : ก. ยกขึ้น, ถอนออก
  42. อุทฺธาร : (ปุ.) การยกขึ้น, การเดาะ (เกี่ยวกับ กฐิน), การให้ยืม, เงินค้าง, หนี้. อุปุพฺโพ, ธรฺ คหเณ, โณ. หรฺ หรเณ วา, หสฺส โธ. ส. อุทฺธาร. อุทฺธุมายิ
  43. อุทาหรณ : (นปุ.) การอ้างอิง, การยกขึ้นให้ เห็น, การยกขึ้นมา, การนำขึ้นมา, ตัวอย่าง. วิ. อุทาหรียเต ปกตสฺโสปปาทนายาติ อุทาหรณํ. อุ อาปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, ยุ, ทฺอาคโม. ส. อุทาหรณ.
  44. อุทาหรติ : ก. เปล่ง, สวด, ยกมาอ้าง
  45. อุนฺนติ : (อิต.) ความพองของจิต, ความไว้ตัว, ความจองหอง, ความไว้ยศ, ความยกตน. วิ. อุนฺนมนํ อุนฺนติ. ติ ปัจ. ส. อุนฺนติ การยก, ความรุ่งเรือง, ความเจริญขึ้น.
  46. อุนฺนามี : ค. ขึ้น, ยกขึ้น
  47. อุพฺพหติ : ก. ดึงออก, ลากไป, เข็นไป, นำไป, ยกขึ้น
  48. อุพฺพหน : นป. การดึง, การยกขึ้น
  49. อุพฺภต : กิต. โยนออกแล้ว, นำออกแล้ว, ยกขึ้นแล้ว
  50. อุพฺภุชติ : ก. ยกขึ้น, งอขึ้น, จับตั้งขึ้น
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-267

(0.0411 sec)