Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แยก , then ยก, แยก .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แยก, 267 found, display 51-100
  1. วิวิจฺจ : อ. แยกออก, ว่าง
  2. วิเวเจติ : ก. แยกออก, มองเห็นข้อแตกต่าง, ติ, วิพากษ์
  3. วิสยุตฺต : กิต. แยกจากกัน
  4. วิสโยค : ป. การแยกจากกัน
  5. สนฺธิสิงฆาฏก : (นปุ.) ทางสามแพร่ง, ทาง สี่แพร่ง, ทางสีแพร่งและสามแพร่ง, ทางสามแยก, ทางสี่แยก.
  6. สาขานคร : (นปุ.) เมืองเป็นสาขา, สาขานคร คือ ดินแดนที่แยกออกเป็นส่วนหนึ่ง.
  7. สิขณฺฑก : (ปุ.) ผมแหยม, แกละ, ผมแกละ ชื่อผมที่เกล้าไว้เป็นหย่อม ๆ เป็นผมเด็ก. แยกเป็น ๕ หรือ ๓ หย่อม.
  8. สิงฺฆาฎก : (นปุ.) ทางมารวมกัน, ตะแลงแกง (ทางมารวมกัน), ทางสามแยก, ทางสี่แยก, ทางสามแจง (แยกออกเป็น ๓ สาย), ทางสี่แจง, ทางสามแพร่ง (แยกออกเป็น ๓ สาย), ทางสี่แพร่ง, ตรอกสามแจง, ตรอกสี่แจง, ฯลฯ, ชุมทางสามแยก, ชุมทางสี่แยก, ฯลฯ. วิ. สึฆติ เอกีภาวํ ยาตีติ สิงฺฆาฎโก. สึฆฺ ฆฎเน, อาฎโก.
  9. สิงฺฆาฏก : ป., นป. ทางสี่แยก, รูปกากบาท
  10. อกองฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าวเป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร.อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
  11. อก องฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าว เป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆ ของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร. อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
  12. *อนุคฺฆาเฏติ : ก. เปิด, ไม่ปิด, แก้ออก *ของ P.T.S.D. มีความหมายตรงข้ามแปลว่าปิด, มัด โดยแยกศัพท์เป็น น+อุคฺฆาเฏติ
  13. อปริจฺฉินฺน : ค. กำหนดไม่ได้, ไม่บริจาค,ไม่แยก, ไม่ขาด, ไม่ถูกตัด
  14. อปาทาน : นป. การนำออก, การแยกออก; ปัญจมีวิภัตติ
  15. อพฺภุนฺนมติ : ก.น้อมไป, ยืดออก, ผุดขึ้น, แยกออก
  16. อเภชฺช : ค. ไม่ควรแยกออก, ตัดออกไม่ได้
  17. อวยว : (วิ.) เป็นส่วน ๆ, แยกออกเป็นส่วน ๆ, เป็นชิ้น.
  18. อวิปฺปโยค : (วิ.) ไม่ไปปราศ, ไม่ไปปราศจากกัน, ไม่พลัดพรากกัน, ไม่พลัดพรากจากกัน, ไม่แยกกัน.
  19. อสโมสรณ : นป. การไม่มาร่วมกัน, การแยกกัน
  20. อาทิณฺณ : กิต. แตกแล้ว, หักแล้ว, แยกแล้ว
  21. อุพฺภินฺทติ : ก. แตกออก, แยกออก, พุ่งออก
  22. อุมฺมคฺค : ป. อุโมงค์, ทางใต้ดิน, ทางระบายน้ำ, ทางแยก
  23. เอกชฺฌสมาทาน : (นปุ.) การถือเอาด้วยดี เป็นอันเดียวกัน, ฯลฯ, การสมาทานรวม กัน. การสมาทานมี ๒ อย่าง คือ สมาทาน แยกเป็นข้อ ๆ เรียกว่า ปัจเจกสมาทาน อย่างหนึ่ง การสมาทานรวมกัน เช่น กล่าวว่า พุทฺธปญฺญ ตฺตํ อุโปสถํ สมาทิยามิ. เรียกว่า เอกชฺฌสมาทาน อย่างหนึ่ง. ผู้สมา ทานล่วงสิกขาบทใดบทหนึ่ง เป็นอันขาด หมดทุกสิกขาบท (ศีลขาดหมดทุกข้อ).
  24. โอคณ : ค. อันแยกจากหมู่, ผู้อยู่เดียวดาย
  25. โอฑฺฒ : กิต. นำไปแล้ว, แยกไปแล้ว
  26. คีเวยฺย, - ยก : นป. เครื่องประดับคอ
  27. จมฺเปยฺย, - ยก : ป. ต้นไม้ตระกูลจำปา
  28. ทุติย, - ยก : ค., ป. ที่สอง, ซึ่งมีเป็นที่สอง; สหาย, เพื่อน, คนติดตาม
  29. คพฺภเสยฺยก : ค. คัพภเสยยกสัตว์, ผู้เกิดในครรภ์, ผู้เกิดมาเป็นตัว
  30. คีเวยฺย คีเวยฺยก : (นปุ.) เครื่องประดับคอ, ผ้า พันคอ. วิ. คีวายํ ภวํ คีเวยฺยํ. คีวาย อาภรณํ วา คีเวยฺยํ คีเวยฺยกํ วา. เอยฺย ปัจ ศัพท์หลัง ลง ก สกัด. โมคฯ ลง เณยฺย เณยฺยก ปัจ.
  31. จมฺเปยฺยก : (วิ.) ผู้อยู่ในเมืองจำปา วิ. จมฺปายํ วสตีติ จมฺเปยฺยโก. ผู้เกิดในเมืองจัมปา วิ. จมฺปายํ ชาโตติ จมฺเปยฺยโก. เอยฺย ปัจ. ก สกัด. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณฺยยก ปัจ.
  32. ชงฺเคยฺยก : (นปุ.) เครื่องประดับแข้ง, ชังเคยยกะ ชื่อกระทงจีวร เมื่อห่มแล้วกระทงนี้จะอยู่ รอบแข้ง. ชงฺฆา ศัพท์ เณยฺยก ปัจ. แปลง ชงฺฆา เป็น ชงฺคา เป็น ชงฺเฆยฺยก โดยไม่ แปลงบ้าง
  33. ปยฺยก : (ปุ.) ปู่ทวด, ตาทวด, ปู่ชวด, ตาชวด. วิ. ปิตุโน อยฺยโก ปยฺยโก. ลบ ตุ แปลง อิ เป็น อ. หรือ อยฺยกโต ปโร ปยฺยโก. ลบ ร แล้วแปร ป ไว้หน้า อภิฯ และ รูปฯ๓๓๖. หรือ ปคโต อยฺยโก ปยฺยโก. ลบ คต.
  34. เปยฺยก : (ปุ.) ปู่ทวด, ตาทวด, ไปยก, ไปยกา, ปิตุ+อยฺยก ลบ ตุ แปลง อิ เป็น เอ.
  35. พารณเสยฺยก : (วิ.) ผู้เกิดในเมืองพาราณสี, ผู้อยู่ในเมืองพาราณสี. เณยฺย ปัจ. ก สกัด หรือ เณยฺยก ปัจ.
  36. มิถิเลยฺยก : (วิ.) ผู้เกิดในเมืองมิถิลา, ผู้อยู่ในเมืองมิถิลา. วิ. มิถิลายํ ชาโต วสตีติ วา มิถิเสยฺยโก เณยฺยก ปัจ. รูปฯ ๓๖๒ ลง เณยฺย ปัจ. ก อาคม.
  37. สายก : (ปุ.) ลูกธนู, ลูกศร, กระบี่, ดาบ, พระขรรค์, สา ตนุกรณาวสาเนสุ. ณฺวุ. ส. สายก.
  38. อนุสูยก : ค. ดู อนุสุยฺยก
  39. อุตฺตานสย อุตฺตานสยก อุตฺตานเสยฺยก : (ปุ.) เด็กแดง, เด็กยังเล็ก, เด็กดื่มนม. วิ. อุตฺตานํ สยตีติ อุตฺตานสโย อุตฺตานสยโก วา อุตฺตานเสยฺยโก วา. อุตฺตานปุพฺโพ, สี สเย. ศัพท์ต้น ณ ปัจ. ศัพท์ที่ ๒ ก ปัจ. ศัพที่ ๓ เอยฺยก ปัจ.
  40. อุสูยก : ค. ดู อุสุยฺยก
  41. โอหียก : ค. ดู โอหิยฺยก
  42. กมฺมนตนายก : (ปุ.) หัวหน้างาน.
  43. กมฺมาธิฏฐายก : ป. ผู้ดูแลการงาน, ผู้คุมงาน
  44. กายก : (วิ.) ผู้ซื้อ วิ. กีณาตีติ กายโก. ณฺวุ ปัจ.
  45. กายกลิ : นป. กายโทษ, สิ่งชั่วช้าที่อยู่ในกาย
  46. กายกสาว : ป. ความหมักหมมแห่งร่างกาย, ความสกปรกที่มีอยู่ในร่างกาย
  47. กุยฺยก : นป. ดอกสารภี, หมากพลับ
  48. โกเลยฺยก : (วิ.) เกิดในตระกูล วิ. กุเล ชาโต โกเลยฺยโก. เณ ยฺยปัจ. ราคาทิตัล. ก สกัด.
  49. คีเวยฺยก : (นปุ.) คีเวยยกะ ชื่อกระทงเล้กของ จีวร ที่อยู่กลางผืนของจีวรด้านบน เวลา ห่มคลุมจะอยู่ที่คอ.
  50. ชงฺเฆยฺยก : นป. ผ้าห่มชังเฆยยกะ, ผ้าห่มปกคลุมแข้ง
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-267

(0.0316 sec)