Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ชั่วชีวิต, ชีวิต, ชั่ว , then ชว, ชวชวต, ชวต, ชั่ว, ชั่วชีวิต, ชีพิต, ชีวิต .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ชั่วชีวิต, 320 found, display 201-250
  1. ปาปสงฺกปฺป : ป. ความดำริชั่ว, ความคิดเลว
  2. ปาปสีล : ค. มีความชั่วเป็นปกติ, มีใจชั่วเป็นนิสัย
  3. ปาปสุปิน : นป. ความฝันชั่ว, การฝันร้าย
  4. ปาปิจฺฉ : ค. มีความปรารถนาลามก, มีความอยากอันชั่วร้าย
  5. ปาปิย : ค. เป็นบาปกว่า, ชั่วกว่า
  6. ปุราณ : (วิ.) เก่า, ก่อน, ชั่วก่อน (สมัยก่อน), ชั่วเพรง (ครั้งก่อน), มีอยู่ก่อน, มีในก่อน, เป็นอยู่ก่อน, ร้าง, บุราณ, เบาราณ. วิ. ปุรา ภโว ปุราโณ. น ปัจ. แปลงเป็น ณ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒ ลง ณ ปัจ. คงไว้.
  7. เปตฺตนิก : ค. ผู้มีชีวิตอยู่ด้วยมรดกตกทอดจากบิดา
  8. โปริสิย : (วิ.) ชั่วบุรุษ (สูงเท่ากับคนยืน)
  9. พฺยาปาธ : ป. การเบียดเบียน, ความชั่ว
  10. ภทฺท : (วิ.) งาม, ดี. (ตรงข้ามกับชั่ว), ดีนัก, เป็นที่ชอบใจ, เป็นสุข, เจริญ ,จำเริญ, เรือง, รุ่งเรือง, ผุดผ่อง, ประเสริฐ, น่ารัก, น่าชม, สบาย, สำราญ, สวัสดี, เป็นมงคล, หล่อ (งาม). ภทิ กลฺยาณสุขภาเวสุ, โท, รูปฯ ๖๕๕. ดู ภทฺร ด้วย.
  11. ภิกฺขุ : (ปุ.) ภิกษุ ชื่อของคนวรรณพราหมณ์ระยะที่ ๔ ของชีวิต ยังชีพโดยภิกขาจาร.
  12. มนุสฺสโทภาคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีส่วนชั่วในความเป็นมนุษย์. ณฺย ปัจ.
  13. มโนทุจฺจริต : (นปุ.) กรรมอันบุคคลประพฤติชั่วแล้วด้วยใจ, การประพฤติชั่วด้วยใจ, ความประพฤติชั่วด้วยใจ, ความประพฤติชั่วทางใจ.
  14. มโนธมฺม : (ปุ.) ธรรมของใจ, ธรรมสำหรับใจ, ใจมีธรรม คือมีความรู้สึกผิดชอบชั่วดี รู้ว่าอะไรควรทำอะไรไม่ควรทำ.
  15. มิจฺฉาอาชีว : (ปุ.) ความเป็นอยู่ผิด, การเลี้ยงชีวิตในทางที่ผิด, อาชีพผิด, มิจฉาอาชีวะ มิจฉาชีพ คือการหาเลี้ยงชีวิตด้วยการประกอบกิจที่ผิดกฎหมายและศีลธรรม.
  16. เมธ : (ปุ.) ความกำจัด, ความกำจัดความชั่ว, คนมีปัญญา.
  17. ยาตรา : อิต. ยาตรา, การท่องเที่ยวไป, การเดินทาง; การยังชีวิตให้เป็นไป, การดำรงชีวิต
  18. ยาตฺรา : (อิต.) การเลี้ยงชีวิต, การยังชีวิตให้เป็นไป, การไป, การเดิน, การเดินไป, การเดินทัพออกไปรบ, การยกทัพไปรบ. ยา ปาปุณเน, ตฺรณฺปจฺจโย. อภิฯ รูปฯ ๖๕๐.
  19. ยาปนมตฺต : (วิ.) (อาหาร) สักว่าเป็นเครื่องอัตภาพให้เป็นไป, พอยังชีวิตให้เป็นไป, พอเลี้ยงชีวิต, พอเยียวยาชีวิต.
  20. ยาปนา : (อิต.) การยังอัตภาพให้เป็นไป, การยังชีวิตให้เป็นไป, ฯลฯ.
  21. ยาเปติ : ก. เลี้ยงชีพ, ดำรงชีพ, ยังชีวิตให้เป็นไป ; ให้ไป ; นำไป
  22. ยาวกาลิก : (นปุ.) ของเป็นยาวกาลิก คือของที่ภิกษุรับประเคนได้เฉพาะเวลาเช้าถึงก่อนเที่ยง และฉันได้เช้าชั่วเที่ยงเท่านั้น ได้แก่ ข้าว อาหารทุกอย่าง.
  23. ยาวชีว : (นปุ.) เพียงไรแห่งชีวิต, กำหนดเพียงไร. แห่งชีวิต. วิ. ชีวสฺส ยตตโก ปริจฺเฉโท ยาวชีวํ.
  24. ยุคมตฺตทสฺสิตา : (อิต.) ความที่แห่งตนเป็นผู้มีปกติแลดูตลอดที่มีแอกหนึ่งเป็นประมาณ, ความเป็นผู้มีสายตาทอดไปข้างหนึ่งชั่วแอก เป็นกิริยาสำรวมของภิกษุไม่มองล็อกแล็กไปทางโน้นทางนี้.
  25. รณ : (ปุ.) การร้อง, เสียง, เสียงร้อง, การรบ, สงคราม, กิเลส, ความชั่ว, ความเสียหาย, บาป. รณฺ สทฺเท, อ.
  26. วจีทุจฺจริต : นป. ความประพฤติชั่วทางวาจา
  27. วสล : ป. คนชั่ว, คนถ่อย
  28. วสลี : อิต. หญิงชั่ว, หญิงถ่อย
  29. สทาตน : ก. วิ. ชั่วนิรันดร
  30. สมฺมาทิฏฐ : (อิต.) ความเห็นชอบ, ความเห็นโดยชอบ. วิ. สมฺมาทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ความเห็นโดยชอบคือโดยไม่วิปริต วิ. สมฺมา อวิปริตโต ทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ปัญญาอันเห็นชอบ, ปัญญาเห็นชอบ. สมฺมาปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, ติ, ติสฺส ฏฐ, สฺโลโป. สัมาทิฆฐิ แบ่งเป็น ๒ คือ โลกิยสัมมาทิฏฐิ อย่าง ๑ โลกุตตรสัมมาทิฏฐิอย่าง ๑ อีกอย่างหนึ่ง สัมมาทิฏฐิ อย่างธรรมดา ได้แก่ ความเห็นที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดี ได้ความดี ทำชั่วได้ความชั่ว พ่อ แม่ มีบุญคุณ เป็นต้น สัมมาทิฏฐิอย่างสูง ได้แก่ความเห็นอริยสัจ ๔.
  31. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  32. สอุปาทิเสส : ค. ซึ่งดับกิเลสแต่ยังมีชีวิตอยู่
  33. สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
  34. หีนชจฺจ : (นปุ.) กำเนิดชั่ว, ฯลฯ, วงศ์ชั่ว, ฯลฯ, ตระกูลชั่ว, ฯลฯ.
  35. อกาลิก : (วิ.) ประกอบด้วยกาลหามิได้, ไม่ประกอบด้วยกาล, ให้ผลมิได้เลือกซึ่งกาล, ให้ผลไม่เลือกเวลา, ให้ผลตลอดเวลา, ให้ผลทุกเวลา. เป็นคุณบทของพระธรรมบทที่ ๓ ใน ๖ บทพระพุทธศาสนาสอนว่าการทำความดีหรือความชั่วไม่เกี่ยวกับฤกษ์ยามทำเวลาไหนได้ผลทั้งสิ้น จะเป็นผลดีหรือชั่วแล้วแต่การทำ
  36. อกิริยทิฏฐิ : (อิต.)ความเห็นว่ากรรมอันบุคคลทำแล้วไม่เป็นอันทำ. ความเห็นว่าบุญหรือบาปที่บุคคลทำแล้วไม่เป็นอันทำ คือเห็นว่าทำดีไม่ได้ดี ทำชั่วไม่ได้ชั่ว.
  37. อกุสลกมฺม : (นปุ.) กรรมมิใช่ความฉลาด, กรรมมิใช่ความดี, กรรมชั่วร้าย, อกุศลกรรม (โทษ บาป).
  38. อกุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมมิใช่กุศล, ทางแห่งความชั่ว, อกุศลกรรมบถ มี ๑๐ คือกายทุจริต๓ วจีทุจริต๔ มโนทุจริต๓.
  39. อกุสลจิตฺต : (นปุ.) จิตอันเป็นอกุศล, อกุศลจิต คือจิตที่มีความชั่ว เป็นจิตที่ประกอบด้วยอกุศลเจตสิก ได้แก่ โลภมูลจิต ๘โทสมูลจิต ๒ โมหมูลจิต ๒.
  40. อกุสลเจตนา : (อิต.) ความคิดอันเป็นบาป, ความนึกอันเป็นบาป, ความตั้งใจอันเป็นบาป, ความคิดชั่ว, ความคิดอันเป็นอกุศล, เจตนาอันเป็นอกุศล. ส. อกุศลเจตนา.อ
  41. อกุสลมูล : (นปุ.) รากเหง้าแห่งความชั่ว, รากเหง้าแห่งบาป, รากเหง้าแห่งอกุศล มี ๓ คือ โลภะ โทสะ และ โมหะ.
  42. อฆ : (นปุ.) อากาศ, กลางหาว, วิ. น หญฺญเตติ อฆํ. นปุพฺโพ, หน หึสายํ, อ, หนสฺส โฆ. บาป, ความชั่ว. วิ, สาธูหิ นหนฺตพฺพนฺติ อฆํ. นปุพฺโพ, หนฺติ ธญฺญมิตฺยฆํ.นปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, อ. อฆ.ปาปกรเณ วา.เป็นปุ. ? ส.อฆ.
  43. อเฆติ : ก. ชั่วช้า, ฉิบหาย, ลำบาก
  44. อจฺจนฺตทุสฺสีลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีศีลชั่วเป็นไปล่วงซึ่งส่วนสุด, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีศีลอันโทษประทุษร้ายแล้วโดยแท้, ความเป็นผู้ทุศีลล่วงส่วน.
  45. อจฺเจกจีวร : (นปุ.) ผ้ารีบร้อน, ผ้ารีบด่วน, อัจเจกจีวร คือ ผ้าจำนำพรรษานั่นเองแต่ทายกทายิการีบถวายเพราะมีเหตุจำเป็นต้องไปในกองทัพหรือเจ็บไข้ หญิงมีครรภ์ไม่มั่นใจในชีวิตมีพระพุทธานุญาตให้ภิกษุรับได้ก่อนออกพรรษา ๑๐วัน รับแล้วเก็บไว้ได้ตลอดกาลจีวร ไตร. ๒/๑๖๒.
  46. อจฺฉรมตฺต : ค. ชั่วลัดนิ้วมือ
  47. อจฺฉราสงฺฆาตมตฺต : (วิ.) ชั่วเวลาลัดนิ้วมือ
  48. อจิร : (วิ.) ไม่นาน, ไม่ช้า, ไม่ยั่งยืน, ชั่วคราว, ชั่วคราวหนึ่ง, ชั่วครู่, พลัน. ส. อจิร.
  49. อชฺฌาจาร : (ปุ.) ความประพฤติล่วง, ความประพฤติล่วงมารยาท, ความล่วง (หมายเอาเมถุน), อัชฌาจารอัธยาจาร(การละเมิดประเพณีการเสพเมถุนความประพฤติชั่วความประพฤติละเมิดพระวินัย)ฏีกา ฯแก้เป็นมริยาทาติกฺกมการล่วงละเมิดมารยาท.
  50. อชฺฌาชีว : ป. ความเป็นอยู่อย่างเข้มงวด, วิถีชีวิต
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-320

(0.0345 sec)