Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเคารพ, เคารพ, ความ , then ความ, ความเคารพ, คารพ, เคารพ, เคารว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเคารพ, 3743 found, display 1701-1750
  1. ปีติปาโมชฺช : นป. ความอิ่มใจและความชื่นชูใจ
  2. ปีติผรณตา : อิต. ความแผ่ซ่านแห่งปีติ, ความมีปีติซาบซ่าน
  3. ปีติรส : นป. รสแห่งปีติ, ความรู้สึกเอิบอาบใจ
  4. ปีติโสมนสฺส : นป. ความเอิบอิ่มใจและความสุขใจ
  5. ปุคฺคลเวมตฺตตา : อิต. ความแตกต่างระหว่างบุคคล
  6. ปุจฺจณฺฑตา : อิต. ความเน่าของไข่
  7. ปุชฺช : ค. น่าเคารพ, น่านับถือ, น่าบูชา
  8. ปุญฺญ : นป. บุญ, ความผ่องแผ้วแห่งดวงจิต, ความสะอาด, ความสุข, ความดี
  9. ปุญฺญกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งบุญ
  10. ปุญฺญกมฺม : นป. การทำบุญ, การกระทำอันเป็นไปเพื่อความดี
  11. ปุฏฺฐตฺต : นป. ความเป็นผู้อันเขาเลี้ยงดูแล้ว
  12. ปุฏน : นป. ความแตก, ความทำลาย
  13. ปุณฺณตา : อิต. ความเต็ม, ความบริบูรณ์
  14. ปุตฺตตฺต : นป. ความเป็นบุตร
  15. ปุถุคตฺตตา : อิต. ความสงัด
  16. ปุถุชฺชนตา : อิต. ความเป็นปุถุชน
  17. ปุถุตฺต : นป. ความหนา, ความกว้าง, ความมาก
  18. ปุถุปญฺญตา : อิต. ความเป็นผู้มีปัญญากว้างขวาง
  19. ปุปฺผภาณี : ป. คนพูดเพราะคือพูดแต่ความจริง
  20. ปุพฺพการี : (ปุ.) บุคคลผู้ทำก่อนโดยปกติ,ฯลฯ, บุคคลผู้ทำอุปการะก่อน, บุพพการี บุคคล. ในกฏหมาย คำบุพการี หมายถึง บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย ทวด (ทั้งสองฝ่าย). ในทางพุทธศาสนาหมาย ความกว้างกว่านี้ มีอธิบายในบุคคลหาได้ยาก ๒.
  21. ปุพฺพงจริต : นป. ความประพฤติอันมีมาก่อน, เรื่องราวที่ล่วงมาแล้ว
  22. ปุพฺพเจตนา : (อิต.) ความคิดจะให้อันเกิดก่อนแต่การให้, ความตั้งใจไว้ก่อนแต่จะให้, ความตั้งใจให้ไว้ก่อนให้, ความคิดอยากจะทำ บุญที่เกิด ขึ้นก่อน ที่จะทำ.
  23. ปุพฺพปโยค : (ปุ.) การประกอบทั่วก่อน, ความประกอบก่อน, ประโยคแรก, บุพประโยค บุรพประโยค (ความพยายามเบื้องต้นของการทำ).
  24. ปุพฺเพกตปุญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีบุญอันตนกระทำแล้วในกาลก่อน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีบุญอันได้กระทำไว้แล้วในกาลก่อน,ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในกาลก่อน, ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในชาติก่อน.
  25. ปุพฺเพนิวาสานุสฺสติญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องระลึกได้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่ในกาลก่อน, ฯลฯ. ศัพท์ทั้งสองนี้ เป็นชื่อของญาณที่ ๑ ในญาณ ๓ ซึ่งพระมหาบุรุษทรงบรรลุในยามแรกแห่งราตรีวันตรัสรู้.
  26. ปุราเภท : (นปุ.) ภายหลังแห่งความตาย. วิ. เภทาย ปุรา ปุราเภทํ.
  27. ปุริมวสฺส : (ปุ. นปุ.) พรรษต้น, วันเข้าพรรษาต้น. การอธิษฐานเข้าพรรษา ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ เรียกว่า ปุริมพรรษา บุริมพรรษา. ถ้าหากมีความจำเป็นเข้าไม่ทันมีพระบรมพุทธานุญาตให้อธิษฐานเข้าวันแรม ๑ ค่ำ เดือน ๙ เรียกปัจฉิมพรรษา.
  28. ปุริส : (ปุ.) ชาย, ผู้ชาย (ชาย), บุรุษ, คน, อาตมะ, มานพ, อาตมัน, จิต. วิ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ หทยํ ปูเรตีติ ปุริโส (ผู้ยังหทัยของมารดาและบิดาของตนให้เต็ม). ปุรฺ ปูรฺ วา ปูรเณ, อิโส. ถ้าตั้ง ปูรฺ ธาตุ พึงรัสสะ อู เป็น อุ. ปุ นิรยํ ริสตีติ ปุริโส (ผู้กำจัดนรก). เป็นความเชื่อของพราหมณ์ว่าลูกชายจะกำจัด คือป้องกันไม่ให้พ่อแม่ตกนรก. ปุ บทหน้า ริสฺธาตุในความกำจัด อ ปัจ. ปุริ อุจฺเจ ฐาเน เสตีติ ปุริโส (ผู้ดำเนินไปในฐานะสูง). ปุริปุพฺโพ, สิคติยํ, อ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ มโนรถํ ปุเรตีติ ปุริโส.
  29. ปุริสการ : (ปุ.) ความเพียรอันบุคคลพึงกระทำเป็นของแห่งบุรุษ, ความเพียรเครื่องกระทำของบุรษ.
  30. ปุริสปรกฺกม : ป. การก้าวไปข้างหน้าของบุรุษ, ความพยายามของบุรุษ
  31. ปุเรกฺขาร : (ปุ.) อันกระทำในเบื้องหน้า, การกระทำในเบื้องหน้า, การห้อมล้อม, ความนับถือ. ปุร+กรฺ+ณ ปัจฺ แปลง กรฺ เป็น ขรฺ ทีฆะ ลบ ณฺ คงวิภัติของบทหน้าไว้ ซ้อน กฺ รูปฯ ๕๖๖. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๒๔ ตั้ง ปุรา+กรฺ+ร ปัจจฺ เอา อา แห่ง ปุรา เป็น เอ.
  32. ปุลาก : (นปุ.?) ข้าวลีบ, ก้อนข้าว, ความสั้นๆ, ความเร็ว?
  33. ปูชนา ปูชา : (อิต.) การยกย่อง, การนับถือ, การต้อนรับ, การบูชา, ความยกย่อง, ฯลฯ. คำ บูชา ไทยใช้เป็นกิริยาในความว่าให้ด้วยความนับถือ.
  34. ปูติ : (อิต.) ความชำระ, ความสะอาด. ปุ ปวเน, ติ.
  35. ปูรตฺต : (นปุ.) ความเต็ม. ปูร+ตฺต ปัจ.
  36. เปกฺขา : (อิต.) อันเพ่ง, ฯลฯ, การเพ่ง, ฯลฯ, ความเพ่ง, ฯลฯ.
  37. เปตเตยฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เกื้อกูลแก่บิดา, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ปฏิบัติเกื้อกูลแก่บิดา, ความปฏิบัติเครื่องเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่บิดา, ความเป็นผู้เกื้อกูลแก่บิดา. ตา ปัจ. ภาวตัท.
  38. เปม : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เป็นที่รัก, ความเป็นแห่งความปลื้ม, ความเป็นแห่งความรัก. วิ. ปิยสฺส ภาโว เปมํ. อิม ปัจ. แปลง ปิย เป็น ป. อีกอย่างหนึ่ง วิ. ปิโน ภาโว เปมํ. อภิฯ.
  39. เปมก : ป., นป. ความรัก
  40. เปมนีย : (วิ.) เป็นที่ตั้งแห่งความปลื้ม, ฯลฯ, ชวนให้ปลื้ม ฯลฯ. เปม+อนีย ปัจ.
  41. เปยฺยาล : (ปุ.) เนื้อความเพื่อความเป็นของอันบัณฑิตพึงรักษาไว้, เนื้อความควรเพื่ออันให้พิสดาร, เนื้อ ความควรเพื่ออันรักษาไว้, เปยยาล, ไปยาล. ในไวยากรณ์ใช้เป็นเครื่องหมายละคำ รูป“ฯ” นี้ เรียกว่า ไปยาลน้อย รูป “ฯลฯ” หรือ “ฯเปฯ” เรียกว่า ไปยาลใหญ่.
  42. เปสุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งวาจาอันบดเสียซึ่งประโยชน์. ปิสุณ หรือ ปิสุน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ เป็น เอ แปลง ณฺย (คือ ณ ที่สุดศัพท์เมื่อลบ อ แล้วกับ ย ปัจ. เมื่อลบ ณฺ แล้ว) เป็นญฺญ หรือ นฺย (คือที่สุดศัพท์เช่นกัน) เป็น ญฺญ.
  43. โปโนพฺภวิก : (วิ.) มีปกติทำซึ่งภพใหม่อีก, มีกิริยาอันตกแต่งซึ่งภพใหม่เป็นปกติ, เป็นไปเพื่อความเป็นอีก,ทำความเกิดอีก. ปุน+ภว+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลง โออาคม หน้า น หรือแปลง อ ที่ น เป็น โอ ก็ได้ ซ้อน พฺ.
  44. โปริส : (ปุ.) ชนผู้ยังความปรารถนาของหญิงให้เต็ม, คนผู้มีปรีชา, คนผู้มีปัญญา. ปุรฺ ปูรเณ, อิโส.
  45. โปริสฺส : นป. ความเป็นบุรษ, คนมีปัญญา
  46. โปโรหิจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งปุโรหิต. วิ. ปุโรหิตสฺส ภาโว โปโรหิจฺจํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รูปฯ ๓๗๑.
  47. โปสน : (นปุ.) ความงอกงาม, ความเจริญ, ความรุ่งเรือง. ปสฺ วุฑฺฒิยํ, ยุ. การเลี้ยง, การเลี้ยงดู, การปรนปรือ. ปุสฺ โปสเน, ยุ.
  48. : (ปุ.) ลม, การบูชา, การเซ่นสรวง, ความโกรธ.
  49. ผรสุ : (ปุ.) พร้ามีด้าม, ผึ่ง, ขวาน, ขวานถาก. วิ. ปเร ชเน อุสาเปตีติ ผรสุ. ปรปุพฺโพ, สสุหึสายํ, อุ, ปสฺส โผ, สโลโป จ. หรือตั้ง สุธาตุในความเบียดเบียน. เป็น ปรสุ โดยไม่แปลง ป เป็น ผ บ้าง. ว่าเป็น อิต. ก็มี.
  50. ผลฏฺฐ : ค. ตั้งอยู่ในผล, มีความยินดีในมรรคผลที่ตนได้บรรลุ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | [1701-1750] | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3743

(0.1105 sec)