Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเคารพ, เคารพ, ความ , then ความ, ความเคารพ, คารพ, เคารพ, เคารว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเคารพ, 3743 found, display 2501-2550
  1. สิทฺธิ : (อิต.) คำสั่ง, คำสั่งสอน. สิธุ สาสเน. ความเจริญ, มงคล. สิธุ มงฺคเ ลฺย. การบรรลุ, การบรรลุผล, การสมความปรารถนา, ความสมปรารถนา, ความสำเร็จ. สิธฺ สํสิทฺธิยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบที่สุดธาตุเป็น ทฺ. ไทย สิทธิ หมายถึง อำนาจอันชอบธรรมที่จะทำอะไรได้ตามกฎหมาย. ส. สิทฺธิ.
  2. สินฺท : (ปุ.) ความเย็น. สิทิ สีติภาเว, อ.
  3. สิเนห : (ปุ.) ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความพอใจ, ความเยื่อใย, ความอาลัย, ความติดพัน, ยาง(ยางของความรักไม่ใช้ยางต้นไม้), ใยยาง, น้ำมัน, น้ำมันเหนียว, ความเสน่หา, ความประติพัทธ์. สินิหฺ ปีติยํ, โณ, ยุ.
  4. สิเนหก : (ปุ.) เพื่อน (ผู้มีความรัก, ฯลฯ). ณฺวุปัจ.
  5. สิเนหน : (นปุ.) ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความพอใจ, ความเยื่อใย, ความอาลัย, ความติดพัน, ยาง(ยางของความรักไม่ใช้ยางต้นไม้), ใยยาง, น้ำมัน, น้ำมันเหนียว, ความเสน่หา, ความประติพัทธ์. สินิหฺ ปีติยํ, โณ, ยุ.
  6. สิเนหปภว : (วิ.) มีความรักเป็นแดนเกิดก่อน.
  7. สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
  8. สิพฺพนี : อิต. หญิงช่างเย็บ; ความอยาก
  9. สิรี : (อิต.) ความเจริญ, ฯลฯ, สมบัติ, ศรี. วิ. กตปุญฺเญหิ เสวตีติ วา สิรี. สิ เสวายํ นิสฺสเย วา, โร, อี จ. อภิฯและฎีกาอภิฯ. ส. ศฺรี.
  10. สิลาฆา : (อิต.) ความชม, ฯลฯ. สิลาฆฺ กตฺถเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
  11. สีต : (นปุ.) ความหนาว, ความเย็น. วิ. อุณฺหาภิตตฺเตหิ เสวียตีติ สีตํ. สิ เสวายํ, โต, ทีโฆ.
  12. สีตาลุ : (วิ.) มีความหนาวเป็นปกติ วิ. สีตํ อสฺส ปกติ สีตาลุ อาลุ ปัจ. พทุลตัท.
  13. สีติ : (อิต.) ความหนาว, ความเย็น. สิ เสวายํ, ติ, ทีโฆ.
  14. สีติภาว : ป. ความเย็น, ความสงบ
  15. สีลตา : อิต. ความปรกติ
  16. สีลพฺพตปรามาส : (ปุ.) การถือมั่นศีลและพรต, การยึดมั่นศีลและพรต, การจับต้องศีลหรือพรต, สีลัพพตปรามาส คือ ความเชื่อถือความศักดิ์สิทธิ์ด้วยเข้าใจว่ามีได้ด้วยศีลหรือวัตรปฏิบัติ เป็นการรักษาหรือบำเพ็ญพรตด้วยความเชื่อเรืองบันดาลไม่เชื่อกรรม เชื่อความขลัง.
  17. สีลสามญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เสมอกันโดยศีล, ความเป็นผู้มีศีลเสมอกัน.
  18. สีลาฆา : (อิต.) การพรรณา, ความพรรณา.
  19. สีวล สีวิย : (วิ.) มีความงาม, ฯลฯ. สิว+ล, อิย ปัจ. ทีฆะ อิ ที่ สิ เป็น อี โมคฯ ณาทีภัณฑ์ ๕๘.
  20. สุกฺขน : นป. ความแห้ง
  21. สุกทริยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ตระหนี่เหนียวแน่นยิ่งนัก, ความเป็นผู้ตระหนี่เหนียวแน่นยิ่งนัก.
  22. สุขปฏิสเวที : ค. ผู้เสวยความสุข
  23. สุขปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสุข.
  24. สุขภาว : (ปุ.) ความเป็นสุข, สุขภาพ.
  25. สุขวาหี : (วิ.) ให้ถึงซึ่งความสุขโดยปกติ, ฯลฯ.
  26. สุขาภิบาล : (ปุ.) การรักษาซึ่งความสุข, การระวังรักษาให้เกิดความสุข, สุขาภิบาล ชื่อส่วนหรือหน่วยงานที่ทำหน้าที่ระวังรักษาเพื่อความสุขปราศจากโรค.
  27. สุขาวห : (วิ.) นำมาซึ่งความสุข, ฯลฯ. สุข+อาวห.
  28. สุขิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสุข วิ. สุขํ อิโต สุขิโต. ผู้สบาย. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อิโต, ผู้มีความสุขเกิดแล้ว ผู้มีความสุขเกิดพร้อมแล้ว วิ. สุขํ ชาตํ สํชาตํ วา เอตสฺสาติ สุขิโต. ผู้เป็นไปด้วยความสุข ว. สุเขน อิโต ปวตฺโตติ สุขิโต.
  29. สุขี : (วิ.) ผู้มีสุข, ผู้มีความสุข, ฯลฯ.
  30. สุเขติ : ก. ให้มีความสุข
  31. สุเขธิต : (วิ.) เจริญด้วยความสุขวิ.สุเขนเอธตีติ สุเขธิโต. สุขปุพฺโพ, เอธฺ วทฺธเน, โต, อิอาคโม. แปลง เอ เป็น โอ เป็น สุโขธิโตบ้าง.
  32. สุเขสิ : ค. ผู้แสวงหาความสุข
  33. สุคติ : (อิต.) ภูมิอันสัตว์พึงไปดี, ภูมิเป็นที่ไปดี, การไปดี, ภูมิดี, ภูมิเป็นที่ไปด้วยความดี, ที่เป็นที่ไปที่ดี, ที่เป็นที่อยู่ที่ดี, กำเนิดดี, ทางดี, สวรรค์, วิ. สุนฺทรา คติ สุคติ. เป็นสุคฺคติ โดยซ้อน คฺ บ้าง.
  34. สุจริต : (นปุ.) ความประพฤติดี, ความสุจริต. วิ. สุนฺทรํ จริตํ สุจริตํ. บุญ, กุศล, สุจริต. ไทย สุจริต ว่าประพฤติตรงต่อหน้าที่.
  35. สุจิตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่งของสะอาด. ตฺตปัจ.
  36. สุจิร : (วิ.) มีความผ่องใส, ฯลฯ. ร ปัจ. ตทัสสัตทิตัท.
  37. สุญฺญตา : (อิต.) ความที่แห่ง...เป็นของว่างเปล่า, ความที่แห่งของเป็นของว่างเปล่า, ฯลฯ, ความเป็นของว่างเปล่า. ตา ปัจ. ภาวตัท. ความว่าง, ความว่างเปล่า, ฯลฯ. ตา ปัจ. สกัด.
  38. สุฏฺฐุตา : อิต. ความประเสริฐ, ความวิเศษ
  39. สุตฺต : (นปุ.) ความหลับ, ความฝัน. สุปฺ สยเน, โต. แปลง ปฺ เป็น ตฺ หรือแปลง ต เป็น ตุต ลบที่สุดธาตุ.
  40. สุตฺตเวฐน : (นปุ.) กระสวยทอผ้า, ความพัดหลอด. วิ. สุตฺเต เวฐนํ สุตฺตเวยฐนํ.
  41. สุติ : (อิต.) เวท (ถ้อยคำศักดิ์สิทธิ์ที่ผูกขึ้นเป็นมนตร์ หรือความรู้ทางศาสนา). วิ. สฺยฺยเต ธมฺมํ เอตายาติ สุติ. สุ สวเน, ติ.
  42. สุทสฺส : (วิ.) อันบุคคลพึงเห็นได้โดยง่าย. วิ. สุเขน ปสฺสิตพฺพนฺติ สุทสฺสํ. ทิสฺ เปกฺขเณ, โข. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ผู้เห็นสิ่งต่างๆ ด้วยดีเพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปสาทจักขุและทิพพาจักขุที่บริสุทธิ์ วิ. ปริสุทฺเธหิ ปสาททิพฺพจกฺขูหิ สมฺปนฺนตา สุฏฺฐุ ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสา.
  43. สุทสฺสี : (ปุ.) สุทัสสี ชื่อรูปพรหมชั้นที่ ๑๕ ชื่อภพเป็นที่อุบัติของสุทัสสีพรหม ชื่อพรหมผู้เป็นสิ่งต่าง ๆ ได้โดยความสะดวก วิ. สุเขน ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสี ชื่อพรหมผู้บริบูรณ์ดีในการเห็นมากยิ่งกว่าสุทัสสพรหม.
  44. สุทุตฺตร : (วิ.) อัน...ข้ามได้ด้วยยากยิ่ง, อันบุคคลข้ามได้ด้วยความยากยิ่ง, ข้ามไปได้ด้วยความยากยิ่ง.
  45. สุทุทฺส : (วิ.) อัน...เห็นได้ด้วยความยากยิ่ง.
  46. สุธารส : (ปุ.) รสทิพย์, น้ำใจ, ความใคร่?. สุธารส ราชาศัพท์ว่า น้ำชา.
  47. สุนฺทรตา : (อิต.) ความที่แห่ง...เป็น...อันงาม.
  48. สุปภาต สุปฺปภาต : (นปุ.) ความสว่างดี, สว่างดี, ฤกษ์งาม.
  49. สุป สุปน : (นปุ.) การหลับ, การนอนหลับ, ความหลับ. สุปฺ สยเน, อ, ยุ.
  50. สุปิน : (ปุ. นปุ.) การหลับ, การนอนหลับ, ความหลับ, การฝัน, ความฝัน. วิ. สุปนํ สุปินํ. สุปฺ สยเน, อิโน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | [2501-2550] | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3743

(0.1399 sec)